ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยด้วยค่ะ

อ-สกุล 1. หากผู้ป่วยที่ต่อมใต้สมองส่วนหลัง กลไกการรักษาสมดุลของน้ำในร่างกาย ใบงานที่ 2.5 กลไกการรักษาดุลยภาพ 3.2 2. หากฉีดฮอร์โมน ADH เข้าสู่กระแสเลือดให้กับผู้ป่วยที่สมองส่วนไฮโพทาลามัสถูกทำลาย นักเรียนคิด ว่าจะส่งผลอย่างไร 3. เขียนคำตอบในช่องว่างและตอบคำถามให้ถูกต้อง 3.1 การควบคุมดุลยภาพของกรด-เบส ในเลือด 91 (Posterior pituitary gland) ถูกทำลายจะส่งผลอย่างไรต่อ CO, ในเลือดสูง ส่งผลให้ค่า pH ยับยั้งทําให้หายใจ CO, ในเลือดต่ำส่งผลให้ค่า pH ชั้น ม. กระตุ้น 1 หายใจ น สมองส่วน กล้ามเนื้อส่วน YouCam Perfect Erase Unwanted Objects Quickly! ควบคุม ทํางานหนักขึ้น และ SLIVEWORKSHEETS สมองส่วนมอัลล1 ออบลองกาตา มีหน้าที่อะไร และมีส่วนช่วยในการรักษาสภาพความเป็น กรด-เบส ในเลือดอย่างไร อยในเมือง Ⓒ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

คือต้องการคำตอบค่ะ ว่าตอบว่าอะไรบ้าง

ตอนที่ 5 การทํางานของระบบประสาท คำชี้แจง ระบุข้อมูลการทำงานของระบบประสาทลงในตารางต่อไปนี้ สถานการณ์ 1.กระตุกขาทันทีเมื่อถูก เคาะบริเวณหัวเข่า 2.กลั้นหายใจเวลาดำน้ำ 3.หัวใจเต้นแรงเมื่อพบ เหตุการณ์ที่น่าตกใจ 4.ม่านตาหรี่ลงเมื่อมีแสง จ้า ตา 5.เมื่อถูกเข็มจิ้มที่นิ้ว ชักมือกลับและรู้สึกเจ็บ 6.กระเพาะปัสสาวะบีบ ตัวทำให้ปวดปัสสาวะ จะ 7.ชักมือกลับเมื่อสัมผัส กระทะที่ร้อน 8.กะพริบตาเมื่อฝุ่นเข้า 9.กระเพาะอาหารลด การหลั่งนํ้าย่อย 10.เหยียบเบรกทันทีเมื่อ มีสุนัขวิ่งตัดหน้ารถ ระบบประสาทที่ ปฏิบัติการ ศูนย์กลางการทํางาน สารสื่อประสาท

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

สงสัยว่าทำไมถึงไม่เกิดเอทิลแอลกอฮอล์ค่ะ มีใครพอจะอธิบายให้ได้บ้างมั้ยคะ ขอบคุณค่ะ🙇🏻‍♀️

D ตะลุย (เข้า มหาวิทยาลัย ชีววิทยา 60 2,000 คลังข้อสอบ www.hl-ed.co.th 101. สารละลายน้ำตาลกับยีสต์ สารละลายน้ำตาล น้ำปูนใส การทดลองที่จัดขึ้นตามรูป ก และ ข เมื่อปล่อยให้ผ่านไปนานพอสมควร ผลในข้อใดที่ไม่ถูกต้อง 1. รูป ก จะพบว่าน้ำปูนใสขุ่น 2. ระดับของสารละลายในหลอดทดลองรูป ข ลดลง 3. จะสังเกตพบฟองแก๊สเล็ก ๆ ในหลอดทดลองรูป ก 4.) ได้กลิ่นเอทิลแอลภอฮอล์จากทั้ง 2 หลอดการทดลอง 5. ในหลอดทดลอง ก มีระดับของสารละลายลดลง เกิดขึ้น เป็นเพราะเหตุใด

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ขอความรู้หน่อยค่า ช่วยหน่อยได้มั้ยคะ🙏✨ #ขอบคุณล่วงหน้าด้วยนะคะ🙏🙏

1. เพราะเหตุใดเราจึงไม่มีโอกาสได้พบเห็นอะมีบาขนาด 200 กิโลกรัมเดินอยู่ตามท้องถนน 2. จากการศึกษาเซลล์ที่ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน พบว่ามีไมโทคอนเดรีย กอลจิบอดี และ ร่างแหเอนโดพลาซึมชนิดผิวขรุขระ เป็นจำนวนมาก นักเรียนคิดว่าเซลล์ดังกล่าวนี้น่าจะทำหน้าที่อะไร ในร่างกายมนุษย์ 3. ไชยาไนด์ (cyanide) เป็นสารพิษที่สามารถจับกับเอนไซม์ที่ทำหน้าที่ในการถ่ายทอดอิเล็กตรอนใน กระบวนการหายใจระดับเซลล์ได้อย่างถาวร ทำให้ร่างกายเกิดภาวะเป็นพิษของไซยาไนด์ การจับของ ไชยาไนด์ทำให้เอนไซม์ไม่สามารถถ่ายทอดอิเล็กตรอนไปให้กับตัวรับอิเล็กตรอนที่อยู่ข้างเคียงได้ นักเรียนคิดว่าสภาวะดังกล่าวจะส่งผลอย่างไรต่อกระบวนการสร้าง ATP และส่งผลอย่างไรต่อร่างกาย มนุษย์ (มี 2 คำถามนะครับ อธิบายให้ครบ) 4. กรดนิวคลีอิกมีโครงสร้างที่คล้ายคลึงกับโครงสร้างของ ATP แต่เราพบว่าร่างกายของเราไม่มีการใช้ กรดนิวคลีอิกเป็นแหล่งพลังงาน คำถามคือเพราะเหตุใดร่างกายของเราจึงไม่ใช้กรดนิวคลีอิกเป็นแหล่ง พลังงานเป็นอันขาด 5. สมมติว่าเราสามารถวัดปริมาณ DNA ภายในเซลล์หนึ่งได้ ถ้าเรารู้ปริมาณ DNA ในการแบ่งเซลล์ระยะ G1 แล้ว นักเรียนคาดว่าปริมาณ DNA ที่วัดได้จากเซลล์ในระยะต่าง ๆ ของวัฏจักรเซลล์จะมีค่าเป็น เท่าใด จงอธิบายวิธีการ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/9