ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่า เป็นเรื่องพันธุกรรม (วิชาชีวะ)🥹

แบบฝึกหัดพันธุกรรม 1. ในการผสมพันธุ์ข้าวโพดเมล็ดสีเหลืองกับข้าวโพดเมล็ดสีขาว ปรากฏว่าได้รุ่นลูกที่มีเมล็ดสีเหลืองทั้งหมด ต่อมานำต้นข้าวโพดรุ่นลูกนี้ผสมกันเอง พบว่าในรุ่นต่อมา บางส่วนเป็นข้าวโพดเมล็ดสีเหลือง บางส่วนเป็น ข้าวโพดเมล็ดสีขาว แสดงว่าลักษณะใดเป็นลักษณะเด่นของข้าวโพดพันธุ์นี้ - 2. การผสมพันธุ์ถั่วต้นสูงที่เป็นเฮตเตอโรไซกัส กับถั่วต้นเตี้ย (กำหนด T = สูง t = เตี้ย) ลูกที่เกิดมาจะมีจีโนไทป์ (Genotype) กี่แบบ อย่างไรบ้าง 3. ถ้านำต้นถั่วฝักสีเขียวที่เป็นพันธุ์แท้ ผสมกับต้นถั่วฝักสีเหลือง (กำหนดให้ G = ผักสีเขียว g = ฝักสีเหลือง) จะได้ลูกที่มีฟีโนไทป์ (Phenotype) แบบ อย่างไรบ้าง 4. สิ่งมีชีวิตที่มีจีโนไทป์ AaBBCC จะสร้างเซลล์สืบพันธุ์ที่มีรูปแบบจีโนไทป์แตกต่างกันได้กี่แบบ อย่างไรบ้าง 5. ลักษณะดอกสีม่วง (A) และเมล็ดกลม (R) เป็นลักษณะเด่น ลักษณะดอกสีขาว (a) เมล็ดขรุขระ (1) เป็น ลักษณะด้อย เมื่อผสม AaRR X AaRr แล้วได้ลูกทั้งหมด 320 ต้น จะมีลูกพันธุ์ทางจำนวนเท่าไร 6. เด็กบางคนเกิดมาพร้อมกับลักษณะบางอย่างที่ถูกควบคุมโดยยีนด้อย เช่น ผมตรง สายตาสั้น เป็นต้น ทั้งที่ พ่อและแม่ไม่ปรากฏลักษณะเช่นนั้น จงอธิบายว่าเป็นเพราะเหตุใด 7. เด่นชัยเป็นคนที่มีลักยิ้ม ซึ่งเป็นลักษณะเด่น แต่พ่อของเด่นชัยไม่มีลักยิ้ม โอกาสที่ลูกสาวของเด่นชัยจะมีลักยิ้ม คิดเป็นร้อยละเท่าไร และภรรยาของเด่นชัยก็ไม่มีลักยิ้ม 8. แม่มีเลือดหมู่ 9 พ่อมีเลือดหมู่ AB ลูกของพ่อแม่คู่นี้จะมีหมู่เลือดใดได้บ้าง 9. ผู้หญิงคนหนึ่งแต่งงานสองครั้ง สามีคนแรกของเธอมีเลือดหมู่ A และลูกจากการแต่งงานครั้งแรกมีเลือดหมู่ - ส่วนสามีคนที่สองมีเลือดหมู่ B และลูกจากการแต่งงานครั้งที่สองมีเลือดหมู่ AB หมู่เลือดของผู้หญิงคน นี้คือหมูโด 10. โรคตาบอดสี (Color Blindness) เป็นความผิดปกติทางพันธุกรรมที่ถูกควบคุมโดยยีนด้อยบนโครโมโซม X ในครอบครัวหนึ่ง พ่อตาบอดสี แม่ตาปกติ ลูกชายคนแรกตาบอดสี ถ้าลูกคนต่อไปเป็นผู้หญิง โอกาสที่ลูกสาว จะตาบอดสีคิดเป็นร้อยละเท่าไร

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยครับ

ตอนที่ 2 จากภาพโครงสร้างต่อไปนี้ จงตอบคำถามให้ถูกต้อง (สามารถตอบได้มากกว่า 1 ข้อและสามารถตอบ ซ้ำได้) -875- te Carboxylic CH₂OH OH H H OH ⓇM H Side chain H -NH₂ ⒸOO E D-pleated sheet Amine ©p @ Phoshate ********************* Sugar 3.48 OH mada 39 booooo00 00000000000 Booogo viso Baaaaaaa 1. หน่วยย่อย (Monomer) ที่เล็กที่สุดของคาร์โบไฮเดรต 2. หน่วยย่อย (Monomer) ที่เล็กที่สุดของโปรตีน 3. เป็นโครงสร้างหลักของ cell wall 4. มีหน่วยย่อย (Monomer) เป็นน้ำตาล glucose 5. โครงสร้างของพอลิแซ็กคาไรด์ที่เป็นองค์ประกอบของแป้ง 6. โครงสร้างของพอลิแซ็กคาไรด์ที่พบในเซลล์กล้ามเนื้อ 7. โครงสร้างของโปรตีนที่พบใน keratin และ fibroin 8. โครงสร้างของสารใดที่มีธาตุ CHON เป็นองค์ประกอบหลัก 9. พอลิแซ็กคาไรด์ (Polysaccharide) 10. มีหมู่คาร์บอกซิลและหมู่อะมิโนเป็นหมู่ฟังก์ชัน booooo aaaaaa **************** โชคดีจ้า CH,

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

#ช่วยหน่อยค่ะต้องส่งวันพฤหัสค่ะ

09:09 น. ตอนที่ 1 แบบปรนัยจํานวน 30 ข้อ คำสั่ง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว 1. สารสังเคราะห์ธรรมชาติคือสารใด ผลการเรียนรู้ ( ข้อ 1) ข้อ 1) ก. ผงซักฟอก ข. น้ำตาลกลูโคส ค. ถุงพลาสติก ง. ไฟเบอร์กลาส 2. ข้อใดเป็นกระบวนการสังเคราะห์ (ผลการเรียนรู้ ข้อ 1) ก. การทําน้ำแข็ง ข. การทําคอนกรีต ค. การทําขี้ผึ้ง ง. การแยกน้ำด้วยไฟฟ้า 3. ข้อใดคือความหมายที่ถูกต้องของกระบวนการ สังเคราะห์ (ผลการเรียนรู้ ข้อ 1) ก. กระบวนการสร้างสิ่งประดิษฐ์ สิ่งใหม่ๆ ทางวิทยาศาสตร์ ข. กระบวนการนําสารต่างชนิดมาทํา ปฏิกิริยาเคมีกัน ค. กระบวนการสร้างสารประกอบใหม่ โดยวิธีทางเคมี ง. กระบวนการแยกสารประกอบออก เป็นธาตุอิสระ 4. สิ่งต่อไปนี้ข้อใดเป็นสารสังเคราะห์ธรรมชาติทั้งหมด (ผลการเรียนรู้ ข้อ 1) ก. กาวอีพอกซี กาวลาเท็กซ์ ครึ่ง ข. เส้นใยไหม ขี้ผึ้ง น้ำยางพารา ค. ขี้ไต้ ครั่ง ไนลอน ง. สบู่ แผ่นพีวีซี ผงซักฟอก = 5. สารสังเคราะห์ใดเป็นสารสังเคราะห์วิทยาศาสตร์ (ผลการเรียนรู้ ข้อ 1) ก. ยางพารา ข. นิโคติน ค. เฮโรอีน ง. คาเฟอีน l 6. เสื้อที่ใช้ในการดับเพลิงควรทํามาจากเส้นใยชนิดใด (ผลการเรียนรู้ ข้อ 1) ก. ใยหิน ข. แก้ว ค. ไนลอน ง. เรยอง 7. มนุษย์เลียนแบบการสังเคราะห์สารธรรมชาติโดยวิธีใด (ผลการเรียนรู้ข้อ 1) 1/1 × ก. ย่อยโมเลกุลใหญ่เป็นโมเลกุลเล็กแล้วนำเอา โมเลกุลเหล่านั้นมารวมเป็นโมเลกุลใหญ่ ข. เริ่มต้นจากวัตถุดิบที่มีโมเลกุลเล็กสังเคราะห์ ให้เป็นโมเลกุลใหญ่ขึ้น ค. ใช้น้ำเป็นองค์ประกอบ ง. ใช้วัตถุดิบเป็นแก๊ส 8. สารสังเคราะห์ธรรมชาติที่เกิดขึ้นจากกระบวนการ สังเคราะห์แสง คือสารใด (ผลการเรียนรู้ ข้อ 1) ก. แป้ง ข. น้ำตาลกลูโคส ค. เซลลูโลส ง. น้ำตาลทราย 9. สารที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ เราเรียกว่าอะไร (ผลการเรียนรู้ ข้อ 2) ก. อลิเมอร์ ข. โฮโมเมอร์ ค. พอลิเมอร์ ง. มอนอเมอร์

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
ชีววิทยา มัธยมปลาย

คำตอบอะไรบ้างหรอค่ะ ขอบคุณค่ะ

3. ให้นักเรียนพิจารณาแผนผังการจำแนกสิ่งมีชีวิตในอาณาโทรทิสดา แล้วใช้ข้อความในตารางที่กำหนดให้ต่อไปนี้ตอบคำถาม อาณาจักรโพรทิสต์ เช่น กลุ่มที่มีนิวเคลียสอะไรโบ โซม แต่ยังไม่มีออร์แกเนลล์ อื่นๆ ได้แก่ เช่น แบ่งเป็น ใช้แฟลช กลุ่มที่มีช่องว่าง กลุ่มที่เซลล์สืบพันธุ์มี ในการเคลื่อนที ได้เยื่อหุ้มเซลล์ แฟลกเจลลาที่มีขนและ เช่น ได้แก่ เช่น ได้แก่ เช่น ได้แก่ กลม แอลวีโอลาตา ไดอะตอม สาหร่ายสีแดง Giardia sp. สาหร่ายสีน้ำตาล ทริปพาโนโซมา สไปโร รา ไตรโคโมแนส สตราโนไพล์ สาหร่ายสีเขียว ไดโพลโมนาดา ไดโนแฟลเจลเลต กราซิลาเรีย คาโรไฟต์ กลุ่มที่มีสา ไฟโค ทริน เช่น ได้แก่ VE LIVEWORKSHEETS กลุ่มที่มีคลอโรฟิลล์ และ ปี พอ ไฟรา คลอเรลลา ใน โทชัว พาราปาซาลา เช่น ได้แก่ ไฟซารัม เอ คอมเพล ซิลิเกต เคโมนิทส ยูกโบว กลุ่มที่มีช่วงชีวิตมีการ เคลื่อนที่กล้ายจะมินา เช่น ได้แก่ ไตรโคนมฟา BLIVEWORKSHEETS

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

สรุปพันธุสาสตร์ ให้น้อนๆ

ศึกษาการถ่ายทอดลักษณะสู่รุ่นลูก โดยประกอบด้วยหลายลักษณะ ได้แก่ ศาสตร์ นักบวชชาวออสเตรีย ได้ทดลองผสมพันธุ์ ถั่วลันเตา (Pisum sativum) เพื่อ เกรเกอร์ โยฮัน เมนเดล (Gregor Johann Mendel) บิดาแห่งวิชาพันธุ คือ วิชาที่ศึกษาการถ่ายทอดลักษณะของสิ่งมีชีวิตจากรุ่นสู่รุ่น หรือที่ บทที่ 1 พันธุศาสตร์ พันธุศาสตร์ (Genetics) 1 เรียกว่า ลักษณะทางพันธุกรรม การเริ่มต้นศึกษาวิชาพันธุศาสตร์ A 1. ความสูงของลำต้น 4 2 รูปร่างของฝัก F 4. สีของเมล็ด ศึกษาการถ่ายทอดลักษณะสู่รุ่นลูก โดยประกอบด้วยหลายลักษณะ ได้หล่า พ 3. รูปร่างของเมล็ด A 6. สีของดอก พ5. ตำแหน่งของดอก F 7. สีของฝัก เลือกพันธุ์พ่อแม่ ผสมภายในดอกเดียวกัน รุ่นของสิ่งมีชีวิตที่ศึกษา (Self-pollination) รุ่นพ่อแม่ ..Parental.seneration : P) การผสมข้าม (Cross-pollination) รุ่นลูก ( First Filial generation : F, ) การผสมภายในดอกเดียวกัน (Self-pol(ination) รุ่นหลาน (Second Filial generation : F3 เอกสารฉบับนี้จัดทำเนื่อผลประโยชน์ทางการศึกษา ห้ามมิให้บุคคลใดดัดลอก ทำซ้ำ เสียนแบบ แก้ไขด้ดแปลง หรือ กระทวง เป็นการแส้วงหาผลประโยชน์ทางการด้า โดยไม่ได้รับการอนุญาตเป็นลาบลักษณ์อักษร จากทางบริษัท เสริมปัญญา จำกัด ู้โด้ละเดล ถูกดำเนินคดีตามกฎหมาย

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

วิชาชีววิทยา เรื่องวิวัฒนาการม.4 ช่วยหาคำตอบด้วยค่ะ🙏🏻

แบบทดสอบเรื่อง :วิวัฒนาการ ชื่อ-สกุล ชั้น...เลขที่.. คำสั่ง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (20 คะแนน) 1. วิวัฒนาการ คือ (1 คะแนน) 2. โครงสร้างต่อไปนี้จัดเป็นโครงสร้างแบบ Homologous structure, หรือ Analogous structure 2.1 ปีกแมลง ปีกนก (1 คะแนน) 2.2 แขนคน ขาเสือ (1 คะแนน) 2.3 ปีกค้างคาว - ครีบด้านข้างโลมา (1 คะแนน) 3. ช่องเหงือกในช่วงตัวอ่อนของมนุษย์ เมื่อเป็นตัวเต็มวัยจะกลายเป็นโครงสร้างใด (1 คะแนน) 4. ให้นักเรียนอธิบายแนวคิดเรื่องวิวัฒน วัฒนาการของ ลามาร์ก (2 คะแนน) 5. ให้นักเรียนอธิบายแนวคิดเรื่องวิวัฒนาการของ ดาร์วิน (2 คะแนน) 6. ให้นักเรียนบอกปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่แอลลีล มาอย่างน้อย 3 ปัจจัย (2 คะแนน) 7. บอกความแตกต่างระหว่างการกำเนิดสปีชีส์แบบ allopatric และ sympatric speciation (2 คะแนน)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยงับ วิทยาศาสตร์

แบบฝึกหัดที่ 2.2 เลือกคำที่กำหนดให้ แล้วนำไปเติมหน้าข้อความที่มีความสัมพันธ์กัน แอกทีฟทรานสปอร์ต พลังงานจลน์ การแพร่ เวสิเคิล อะดีโนซีนไตรฟอสเฟต โปรตีนตัวพา แ2 พลังงานศักย์ เยื่อเลือกผ่าน ภาวะสมดุลของการแพร่ เอนโดไซโทซิส การแพร่แบบฟาซิลิเทต เอกโซไซโทซิส ดีออกซีไรโบนิวคลีอิก โปรตีนตัวรับ ออสโมซิส ฟอสโฟลิพิด 1. สารขนาดใหญ่ที่บรรจุอยู่ในเวสิเคิลจะเคลื่อนที่มารวมกับเยื่อหุ้มเซลล์ เพื่อปล่อยสารออกนอกเซลล์ 2. การเคลื่อนที่ของอนุภาคสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นสูงไปสู่บริเวณ ที่มีความเข้มข้นต่ำ จนความเข้มข้นของสารทั้งสองบริเวณเท่ากัน 3. การลำเลียงแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จากเซลล์เม็ดเลือดแดงสู่ถุงลม เพื่อ กำจัดออกจากร่างกาย 4. คุณสมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์ที่จะยอมให้สารบางชนิดสามารถผ่านเข้า-ออก จากเซลล์ได้ 5. สารพลังงานสูงของเซลล์ที่ช่วยผลักดันให้เกิดการลำเลียงสารจากบริเวณ ที่มีความเข้มข้นต่ำไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นสูง 6. การทำลายเชื้อโรคของเซลล์เม็ดเลือดขาว โดยการโอบล้อมเชื้อโรคเพื่อ นำเข้ามาย่อยสลายภายในเซลล์ 7. พลังงานที่ทำให้อนุภาคสารเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา ซึ่งอนุภาคสารจะเกิด การชนกัน และกระจายไปยังบริเวณอื่นๆ 8. การลำเลียงสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นต่ำไปยังบริเวณที่มีความ ส่ 9 เข้มข้นสูงผ่านช่องโปรตีนตัวพา และอาศัยพลังงานช่วยในการลำเลียง 9. บริเวณที่อนุภาคสารถูกลำเลียงผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ของการแพร่แบบ ฟาซิลิเทต และการลำเลียงโดยใช้พลังงาน 10. ถุงบรรจุสารขนาดใหญ่ เช่น คาร์โบไฮเดรต โปรตีน เพื่อใช้ในการลำเลียง สารเข้า-ออกจากเซลล์ องค์ประกอบของสิ่งมี ึงมีชีวิต 21

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/10