ชีววิทยา
มัธยมปลาย

สรุปพันธุสาสตร์ ให้น้อนๆ

ศึกษาการถ่ายทอดลักษณะสู่รุ่นลูก โดยประกอบด้วยหลายลักษณะ ได้แก่ ศาสตร์ นักบวชชาวออสเตรีย ได้ทดลองผสมพันธุ์ ถั่วลันเตา (Pisum sativum) เพื่อ เกรเกอร์ โยฮัน เมนเดล (Gregor Johann Mendel) บิดาแห่งวิชาพันธุ คือ วิชาที่ศึกษาการถ่ายทอดลักษณะของสิ่งมีชีวิตจากรุ่นสู่รุ่น หรือที่ บทที่ 1 พันธุศาสตร์ พันธุศาสตร์ (Genetics) 1 เรียกว่า ลักษณะทางพันธุกรรม การเริ่มต้นศึกษาวิชาพันธุศาสตร์ A 1. ความสูงของลำต้น 4 2 รูปร่างของฝัก F 4. สีของเมล็ด ศึกษาการถ่ายทอดลักษณะสู่รุ่นลูก โดยประกอบด้วยหลายลักษณะ ได้หล่า พ 3. รูปร่างของเมล็ด A 6. สีของดอก พ5. ตำแหน่งของดอก F 7. สีของฝัก เลือกพันธุ์พ่อแม่ ผสมภายในดอกเดียวกัน รุ่นของสิ่งมีชีวิตที่ศึกษา (Self-pollination) รุ่นพ่อแม่ ..Parental.seneration : P) การผสมข้าม (Cross-pollination) รุ่นลูก ( First Filial generation : F, ) การผสมภายในดอกเดียวกัน (Self-pol(ination) รุ่นหลาน (Second Filial generation : F3 เอกสารฉบับนี้จัดทำเนื่อผลประโยชน์ทางการศึกษา ห้ามมิให้บุคคลใดดัดลอก ทำซ้ำ เสียนแบบ แก้ไขด้ดแปลง หรือ กระทวง เป็นการแส้วงหาผลประโยชน์ทางการด้า โดยไม่ได้รับการอนุญาตเป็นลาบลักษณ์อักษร จากทางบริษัท เสริมปัญญา จำกัด ู้โด้ละเดล ถูกดำเนินคดีตามกฎหมาย
วิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 1 บริษัท เสริมปัญญา จำกัด SERAM PANYA CO.เTD 2 พบว่า ลักษณะของต้นถั่วลันเตาลักษณะใดลักษณะหนึ่งจะปรากฏในลูกรุ่นที่ 1 ร้อยละ 100 แต่เมื่อนำลูกรุ่นที่ 1 มาผสมกันเอง (Self-pollination) จะได้ลูกรุ่นที่ 2 ที่มีลักษณะปรากฏออกมา 2 ลักษณะ ในอัตราส่วน 3:1 ดังตาราง ลักษณะ รุ่นพ่อแม่ ลักษณะของรุ่น F, ลักษณะของรุ่น F, ความสูงของลำต้น สูง และ เดีย สูง สูง 787 เตีย 277 รูปร่างของฝัก อวบ และ แฟบ แฟบ 299 อาบ อวบ 882 รูปร่างของเมล็ด กลม และ ขรุขระ กลม 5,474 ขรุขระ 1,850 กลม สีของเมล็ด สีเหลือง และ สีเขียว สีเหลือง สีเหลือง 6,022 สีเขียว 2,001 ตำแหน่งของดอก ดอกที่กิ่ง ดอกที่ยอด 207 ดอกที่กิ่ง และ ดอกที่ยอด ดอกที่กิ่ง 651 สีของดอก สีม่วง และ สีขาว สีม่วง สีม่วง 705 สีขาว 224 สีเขียว 428 สีเหลือง 152 สีของฝัก สีเขียว และ สีเหลือง สีเขียว อัตราส่วนของลักษณะในรุ่น F, 3:1 เมนเดลจึงได้ข้อสรุปว่า 1. ลักษณะต่างๆของถั่วลันเตามีหน่วยควบคุม เรียกว่า ยีน (Gene) โดยจะอยู่เป็น คู่ และจะถ่ายทอดจากพ่อแม่ไปสู่ลูก 2. ยืนที่ควบคุมลักษณะนั้น จะมีลักษณะของยีนใดยืนหนึ่งปรากฏ 3. ลักษณะที่ปรากฏในรุ่น F, คือ ลักษณะเด่น (Dominant trait) 4. ลักษณะที่ไม่ปรากฏในรุ่น F, แต่ปรากฏในรุ่น F, คือ ลักษณะด้อย(Recessive trait) เอกอารฉบับนี้จัดทำเนือยลประโยชน์ทวงการศึกษา ห้ามมิให้บุคคลใดคัดออก ทำซ้ำ เลียนแบบ แก้ไขดัดแปลง หรือ กระทำการใจ ป็นการแสวงหาผลประโบชน์ทางการด้า โดยไม่ได้รับถารอนุญาตเป็นอายลักษณ์อักษร จากทางบริษัท เสริมปัญญา จำกัด ผู้ใดละเบิดสิขสิท
เอกสารฉบับนี้จัดทำเพือผลประโยชน์ทางการศึกษา ห้ามมิให้บุคคลใดดัดลอก ทำซ้ำ เสียนแบบ แก้ไขดัดแปลง หรือ กระทำการใดๆ เป็นการแล้งหาผลประโบชน์ทางการด้า โดยไม่ได้รับการอนุญาตเป็นลาบลักษณ์อักษร จากทางบริษัท เสริมปัญญา จำกัด ผู้ใดละเชิดสินลิทธิ์ บริษัท เสริมบัญญา จำกัด 5M PANYA Co.4Tp 3 บริษัท เสริมบัญ คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับพันธุศาสตร์ - ยืน (Gene) คือ หน่วยที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม นิยมใช้ พยัญชนะตัวใหญ่ แทน ลักษณะเด่น พยัญชนะตัวเล็ก แทน ลักษณะด้อย . โฮโมโลกัสโครโมโซม (Homologus chromosome) คือ โครโมโซมที่เป็นคู่กัน ซึ่งจะมีลักษณะ เหมือนกันและมีตำแหน่งยีนที่เป็นคู่กัน อยู่ตรงกัน - โลคัส (Locus) คือ ตำแหน่งของยีนที่อยู่บนโครโมโซม - อัลลีล (Allele) คือ ยีนที่อยู่บนตำแหน่งเดียวกันของโฮโมโลกัส โครโมโซม และควบคุมการแสดงออกลักษณะเดียวกัน แบ่งได้เป็น โด gene Aleles Homologous Chromosomes อัลลีลเด่น (Dominant allele) อัลลีลด้อย (Recessive allele) Allele for purple flowers Homologous palr of chromosomes Locus for flowar-color gene Allele for white flowers .จีโนไทป์ (Genotype) คือ สภาพของยีน หรือ ยืนที่อยู่ด้วยกันเป็นคู่ นิยมเขียนด้วย สัญลักษณ์แทนตัวอักษร 1) ฮอมอไซกัสโดมิแนนท์ (Homozygous dominant) จีโนไทป์ที่มียีนเด่น เหมือนกันทั้ง 2 ยีน 2) ฮอมอไซกัสรีเซสสีพ (Homozygous recessive) จีโนไทป์ที่มียีนด้อยเหมือนกัน ทั้ง 2 ยืน 3) เฮเทอโรไซกัส (Heterozygous) จีโนไทป์ที่มียีนที่ต่างกันเข้าคู่กัน * ฟิโนไทป์ (Phenotype) คือ ลักษณะที่ปรากฏในสิ่งมีชีวิต ซึ่งเป็นการแสดงออกของ ยื่น ร่สส
PromotionBanner

คำตอบ

ยังไม่มีคำตอบ

ข้อสงสัยของคุณเคลียร์แล้วหรือยัง?

เมื่อดูคำถามนี้แล้ว
ก็จะเจอคำถามเหล่านี้ด้วย😉