ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

ชีววิทยา มัธยมปลาย

สรุปพันธุสาสตร์ ให้น้อนๆ

ศึกษาการถ่ายทอดลักษณะสู่รุ่นลูก โดยประกอบด้วยหลายลักษณะ ได้แก่ ศาสตร์ นักบวชชาวออสเตรีย ได้ทดลองผสมพันธุ์ ถั่วลันเตา (Pisum sativum) เพื่อ เกรเกอร์ โยฮัน เมนเดล (Gregor Johann Mendel) บิดาแห่งวิชาพันธุ คือ วิชาที่ศึกษาการถ่ายทอดลักษณะของสิ่งมีชีวิตจากรุ่นสู่รุ่น หรือที่ บทที่ 1 พันธุศาสตร์ พันธุศาสตร์ (Genetics) 1 เรียกว่า ลักษณะทางพันธุกรรม การเริ่มต้นศึกษาวิชาพันธุศาสตร์ A 1. ความสูงของลำต้น 4 2 รูปร่างของฝัก F 4. สีของเมล็ด ศึกษาการถ่ายทอดลักษณะสู่รุ่นลูก โดยประกอบด้วยหลายลักษณะ ได้หล่า พ 3. รูปร่างของเมล็ด A 6. สีของดอก พ5. ตำแหน่งของดอก F 7. สีของฝัก เลือกพันธุ์พ่อแม่ ผสมภายในดอกเดียวกัน รุ่นของสิ่งมีชีวิตที่ศึกษา (Self-pollination) รุ่นพ่อแม่ ..Parental.seneration : P) การผสมข้าม (Cross-pollination) รุ่นลูก ( First Filial generation : F, ) การผสมภายในดอกเดียวกัน (Self-pol(ination) รุ่นหลาน (Second Filial generation : F3 เอกสารฉบับนี้จัดทำเนื่อผลประโยชน์ทางการศึกษา ห้ามมิให้บุคคลใดดัดลอก ทำซ้ำ เสียนแบบ แก้ไขด้ดแปลง หรือ กระทวง เป็นการแส้วงหาผลประโยชน์ทางการด้า โดยไม่ได้รับการอนุญาตเป็นลาบลักษณ์อักษร จากทางบริษัท เสริมปัญญา จำกัด ู้โด้ละเดล ถูกดำเนินคดีตามกฎหมาย

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยทีค่ะ

คำศัพท์ทางพันธุศาสตร์ 1. Meiosis หมายถึง เป็นการแบ่งนิวเคลียสเพื่อสร้างเซลล์สืบพันธุ์ เมื่อสิ้นสุด การแบ่งเซลล์ จะได้เซลล์ใหม่ 4 เซลล์ 2. Gamete หมายถึง เซลล์สืบพันธุ์ทำหน้าที่สืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตที่สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ 3. Allele หมายถึง รูปแบบของยีนที่แสดงออกในแบบลักษณะต่าง ๆ ในลักษณะทางพันธุกรรมหนึ่ง ๆ 4. Dominant gene หมายถึง ยีนที่มีรูปแบบเป็นแอลลีลเด่น 5. Recessive gene หมายถึง ยีนที่มีรูปแบบเป็นแอลลีลด้อย 6. Locus หมายถึง ตำแหน่งของยีนที่อยู่บนโครโมโซม 7. Genotype หมายถึง ยีนที่อยู่ด้วยกันเป็นคู่จะนิยมเขียนสัญลักษณ์แทนด้วยตัวอักษร เช่น TT, tt และTt 8. Phenotype หมายถึง ลักษณะที่ปรากฏออกมาให้เห็นซึ่งเป็นผลจากการแสดงออกของยีน เช่น ต้นสูง, ต้นเตี้ย 9. Homozygous gene / homozygous genotype หมายถึง ยีนที่เหมือนกันจับคู่กัน เช่น GG, gg 10. Homozygous dominant หมายถึง จีโนไทป์ที่มียีนเด่นทั้งหมด เช่น GG หรือ TT 11. Homozygous recessive หมายถึง จีโนไทป์ที่มียีนด้อยทั้งหมด เช่น 12. Heterozygous gene / heterozygous gentype หมายถึง ยีนที่แตกต่างกันจับคู่กัน เช่น Gg 13. Homologous chromosome หมายถึง โครโมโซมที่เป็นคู่ที่เหมือนกัน มียีน (gene) ที่ควบคุมลักษณะ เดียวกันอยู่บนตำแหน่งเดียวกันบนโครโมโซม (chromosome) ที่เป็นคู่กัน หรือ คำชี้แจง : ให้นักเรียนร่วมกันอธิบายการศึกษาพันธุกรรมของเมนเดล 1. ให้นักเรียนอธิบายว่ามีเหตุผลอะไรบ้างที่ทำให้เมนเดลเลือกถั่วลันเตาเป็นพืชทดลอง (2 คะแนน) 2. ให้นักเรียนเติมผลการทดลองผสมพันธุ์ถั่วลันเตาทั้ง 7 ลักษณะ ของเมนเดลให้ถูกต้อง (5 คะแนน) ในห้ะ ลักษณะ รุ่นพ่อแม่ (P) ลักษณะเด่น ลักษณะด้อย ลักษณะของ อัตราส่วนของลักษณะเด่นต่อ อัตราส่วนลักษณะด้วยในรุ่น F2 รุ่น F สูงทั้งหมด 1.ความสูงของลำต้น ต้นสูง ต้นเตีย 2.84 : 1 2. 3. 4. 5. 6. 7.

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยนะคะฮือ🙏🏼💖

แนวนอน 5. โครงสร้างที่พบในเซลล์สัตว์ ประกอบด้วยไมโครทูบูลเป็นแกนของเซนโทรโซม 8. ถุงที่มีเยื่อหุ้ม 1 ชั้น สร้างมาจากกอลจิคอมเพล็กซ์ มีเอนไซม์สำหรับย่อยสลายสารภายในเซลล์ 10. สิ่งมีชีวิตที่ไม่มีเยื่อหุ้มล้อมรอบสารพันธุกรรมและไม่มีออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม 14. กระบวนการนำสารที่ไม่ละลายน้ำเข้าสู่เซลล์ โดยการยื่นส่วนของเยื่อหุ้มเซลล์ออกไปหุ้ม 16. โครงสร้างที่ประกอบด้วย DNA และโปรตีนเป็นเส้นที่ขดตัวหนาเห็นได้ชัดเจนในระยะแบ่งเซลล์ เมื่อศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์ 17. โครโมโซมที่มีลักษณะเหมือนกัน ขนาดเท่ากัน ตำแหน่งเซนโทรเมียร์ตรงกันและมียีนที่ควบคุม ลักษณะเดียวกันมีตำแหน่งตรงกัน เรียกว่า .. chromosome สส 19. การแบ่งนิวเคลียสของเซลล์ที่ทำให้ได้เซลล์ลูกมีจำนวนโครโมโซมลดลงครึ่งหนึ่ง 20. ออร์แกเนลล์ขนาดเล็กภายในเซลล์ ทำหน้าที่ในการสังเคราะห์โปรตีน ๕ส่ 0 ๆ นฯ ข แนวตั้ง 1. ออร์แกเนลล์ที่พบในเซลล์พืชที่บรรจุคลอโรฟิลล์ซึ่งใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง 2. ส่วนของโครโมโซมเดิมและโครโมโซมใหม่ที่สร้างขึ้นจากการจำลอง DNA ในระยะอินเตอร์เฟส ยึดติดกันตรงตำแหน่งเซนโทรเมียร์ 3. การแบ่งนิวเคลียสของเซลล์ที่ทำให้ได้เซลล์ลูก 2 เซลล์มีจำนวนโครโมโซมเท่าเดิม 4. โครงสร้างของเซลล์ที่เป็นเส้นใยสปินเดิล 6. การเคลื่อนที่ของน้ำผ่านเยื่อหุ้มเซลล์จากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารละลายต่ำไปยังบริเวณที่มี ความเข้มข้นของสารละลายสูง 7. กระบวนการที่เวสิเคิลภายในเซลล์เคลื่อนที่ไปรวมกับเยื่อหุ้มเซลล์เพื่อหลั่งสารออกนอกเซลล์ 9. ออร์แกเนลล์ขนาดเล็กที่มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น ทำหน้าที่สร้างพลังงานให้แก่เซลล์ ภายในมี DNA 11. สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวหรือหลายเซลล์ มีนิวเคลียสและมีออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม 12. บริเวณที่ sister chromatids แนบชิดกัน และเป็นบริเวณที่เกี่ยวข้องกับการยึดติดของเส้นใย สปินเดิลในระยะแบ่งเซลล์ 13. ส่วนประกอบของเซลล์ที่มีโครโมโซมอยู่ภายใน ทำหน้าที่ควบคุมกิจกรรมต่าง ๆ ภายในเซลล์ 15. ส่วนที่เป็นของเหลวภายในเซลล์ประกอบด้วยออร์แกเนลล์ต่าง ๆ การเคลื่อนที่ของตัวถูกละลายจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารละลายสูงไปยังบริเวณที่มีความ เข้มข้นของสารละลายต่ำกว่า จัดทำโดย สาขาวิทยาศาสตร์มัธยมศึกษาตอนปลาย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยเราหน่อยค่ะ เรางง ไม่เข้าใจเลยค่ะ

ใบงาน เรื่อง หน้าที่และชนิดของลำต้น คำชี้แจง : ให้นักเรียนพิจารณาคำถาม และนำคำศัพท์ที่กำหนดให้มาตอบคำถามให้ถูกต้อง Rhizome Creeping stem Tuber Butb Tendril climber Twinter Corm Root climber Cladophyll Stem spine Climbing stem 1. ลำต้นที่ประกอบด้วยข้อและปล้อง ซึ่งปล้องมีตาที่ปุ่มลงไป เช่น มันฝรั่ง ตอบ 2. ลำต้นที่เปลี่ยนแปลงไปคล้ายใบ ทำหน้าที่สังเคราะห์ด้วยแสงได้ ตอบ 3. ลำต้นอ่อน ตั้งตรงไม่ได้ ต้องเลื้อยไปบนผิวดิน เช่น แตงโม ตอบ ะ 4. ลำต้นตั้งตรงมีลักษณะอวบใหญ่ มีใบซูขึ้นสูง เช่น เผือก แห้ว ตอบ 5. ลำต้นตั้งตรง มีข้อปล้องสั้นมากด้านล่างของลำต้นมีรากเป็นกระจุก เช่น หอม ตอบ 6. ลำต้นอยู่ใต้ดิน เห็นข้อปล้อง ตามข้อมีใบสีน้ำตาล เช่น ขิง ข่า ตอบ. 7. ลำต้นไต่ขึ้นสูงไปตามหลัก หรือต้นไม้ที่อยู่ติดกัน เช่น เฟื่องฟ้า พลูด่าง บ 1 บล ตอบ 8. ลำต้นพันหลักเป็นเกลียวขึ้นไป เช่น เถาวัลย์ ตอบ 9. ลำต้นเปลี่ยนเป็นหนาม เช่น มะนาว ส้มชนิดต่าง ๆ ตอบ 10. ลำต้นเปลี่ยนเป็นมือเกาะ เช่น บวบ แตงกวา ตอบ

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 2
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ

แบบฝึกหัดเรื่องโครงสร้างภายในของราก คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำศัพท์โครงสร้างภายในของรากที่สอดคล้องกับข้อความด้านล่างและเติมคำศัพท์ลงในช่องว่างหน้าข้อความ นั้น เนื้อเยื่อไซเลม เนื้อเยื่อโฟลเอม เนื้อเยื่อชั้นผิว เซลล์ขนราก สตีล คอร์เทกซ์ เอนโดเดอร์มิส เพอริไซเคิล มัดท่อลำเลียง ไส้ไม้ โครงสร้างที่ประกอบด้วยเวสเซลล์ (vessel) เทรคีด(racheid) พาเรงคิมา(parenchyma) ทำหน้าที่ลำเลียงน้ำและธาตุอาหาร โครงสร้างที่ประกอบด้วย เซลล์เนื้อเยื่อผิว (epidermal cell) ที่เรียงเป็นแถว ทำหน้าที่ป้องกันเนื้อเยื่อที่อยู่ ด้านใน โครงสร้างที่ประกอบด้วย ท่อลำเลียงอาหาร (sieve tube) เซลล์ประกอบ (companion cel) พาเรงคิมา (parenchyma) และอาจมีเซลล์เส้นใย (fibre cell) ทำหน้าที่ในการลำเลียงอาหาร ชั้นของเซลล์ที่สามารถเปลี่ยนแปลงไปเป็นเนื้อเยื่อเจริญ (meristermatic tissuc) เป็นจุดกำเนิดของ รากแขนง ชั้นของเซลล์ที่อยู่ระหว่างเนื้อเยื่อชั้นผิว (epidermis) และเนื้อเยื่อลำเลียง (vascular tissuc) ส่วนใหญ่เป็น เซลล์พาเรงคิมา (parenchyma cell) แถวที่อยู่ด้านในสุดของเนื้อเยื่อพื้น (ground tissue) มักเห็นเซลล์เรียงกันเป็นแถว เซลล์ในเนื้อเยื่อชั้นผิว (epidermal cell) บางเซลล์ที่เปลี่ยนแปลงไป เพื่อเพิ่มพื้นที่ในการดูดซึมน้ำและ ธาตุอาหาร

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/2