ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยข้อไหนได้บอกหน่อยนะคะทำไม่ทันค่ะ

อยที่ลำไส้เล็ก 6 การย่อยอาหารของมนุษย์ การย่อยที่กระเพาะอาหาร 1. กระเพาะอาหารของมนุษย์ มีความจุได้มากสุดประมาณเท่าใด 2. เพราะเหตุใด อาหารจึงไม่ไหลย้อนกลับไปยังหลอดอาหาร และไม่ไหลต่อไปยังลำไส้เล็กได้ 3. บริเวณผนังของกระเพาะอาหารด้านใน มีเซลล์ที่สามารถสร้างสารใดได้บ้าง 4. เอนไซม์ใดที่มีหน้าที่ย่อยอาหารบริเวณกระเพาะอาหาร และเอนไซม์ดังกล่าว เปลี่ยนแปลงมาจากเอนไซม์ใด 5. จากข้อที่ 4 เอนไซม์ดังกล่าวย่อยสารอาหารประเภทใด 6. บริเวณกระเพาะอาหารสามารถย่อยอาหารประเภทใดได้บ้าง 7. อาหารที่ถูกย่อยที่กระเพาะอาหารนั้น สามารถถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดได้เลยหรือไม่ เพราะเหตุใด 8. แผนภาพด้านล่างเป็นการสร้างสาร/เอนไซม์เพื่อย่อยอาหารบริเวณกระเพาะอาหาร จงเติมสาร/เอนไซม์ ในแผนภาพให้ถูกต้อง กำหนดให้ ) = สร้าง = กระตุ้นให้เปลี่ยนแปลง N- = ย่อย -- = ได้ เซลล์ผนังด้านใน Pepsinogen ของกระเพาะอาหาร Hydrochloric acid Polypeptide สายยาว กระตุ้น

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ทำไม่ทันจริงๆค่ะ ได้บางข้อก็ไม่เป็นไรนะคะ

จากภาพ จงบอกชื่อของโครงสร้างแต่ละส่วน และหน้าที่ของตำแหน่งนั้น ๆ 5 การย่อยอาหารของมนุษย์ ชื่อโครงสร้าง หน้าที่ ชื่อโครงสร้าง หน้าที่. ชื่อโครงสร้าง หน้าที่ ชื่อโครงสร้าง หน้าที่. ชื่อโครงสร้าง หน้าที่ ชื่อโครงสร้าง หน้าที่ ชื่อโครงสร้าง หน้าที่ กระบวนการเปลี่ยนแปลงสารอาหารเพื่อให้ได้อาหารที่มีโมเลกุลขนาดเล็ก ประกอบไปด้วยกี่กระบวนการ อะไรบ้าง จงเขียนลำดับของทางเดินอาหารของมนุษย์ให้ถูกต้อง การย่อยเชิงเคมี ที่จะใช้น้ำเรียกว่าอะไร การย่อยที่ปาก และหลอดอาหาร 1. ภายในปาก มีการย่อยแบบใดบ้าง 2. อวัยวะช่วยย่อยที่ผลิตสารเพื่อย่อยอาหารในปาก คืออะไร อยู่ตำแหน่งใดบ้าง 3. สารที่ถูกผลิตจากอวัยวะในข้อ 2 มีเอนไซม์.. เป็นส่วนประกอบ ทำหน้าที่ย่อยสิ่งใด 4. กล้ามเนื้อที่หลอดอาหารจะมีการบีบตัวและคลายตัวแบบเป็นระลอก เรียกว่า เพื่อให้อาหารเคลื่อนที่ไปยังบริเวณใด

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ภาษาอื่นๆ มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ

เรื่อง วิเคราะห์ข่าวหรือบทความ เลขที่ นามสกุล สิ่งที่นักเรียนพิงรู้และปฏิบัติได้ ให้นักเรียนวิเคราะห์ข่าวหรือบทความที่กำหนดให้ ที่มา http://multimedia.anamai. moph.gว.th/news แล้วสรุปความรู้ .เพทย์หญิงอัมพร เบญจพลพิทักษ์ รองอธิบดีกรมอนามัยและโฆษกกระทรวงสาธารณสุข กล่าวว่า กลุ่มอาหารที่เด็กวัยเรียนควรจะได้รับ ได้แก่ ๑. สารอาหารที่ให้โปรตีนช่วยเสริมสร้างกล้ามเนื้อ เนื้อเยื่อ และฮอร์โมน ควรเลือกเนื้อสัตว์ที่ไม่ติดมัน เพื่อเป็นการปลูกฝังนิสัยการบริโภคที่ดีให้แก่เด็ก ๒. นม เป็นผลิตภัณฑ์ที่ให้โปรตีนและแคลอรีสูง นอกจากนี้ยังมีแคลเซียม วิตามินเอมาก เหมาะสำหรับเด็กที่กำลังเจริญเติบโต เด็กจึงควรได้ดืมนม ให้ได้วันละ ๒ แก้วทุกวัน ๓. ข้าวหรือแป้งต่าง ๆ ควรจัดให้เด็กในทุกมื้ออาหาร เลือกข้าวหรือแป้ง ที่ผ่านการขัดสีน้อย เพราะจะมีวิตามินและแร่ธาตุมาก ๔. ผักและผลไม้สด ควรให้เด็กบริโภคใน มื้ออาหารทุกมื้อ และควรสับเปลี่ยนชนิดให้หลากหลาย เพื่อให้เด็กได้รับวิตามินและแร่ธาตุครบถ้วน โดยเฉพาะวิตามินซี และ ๕. เด็กควรดื่มน้ำสะอาด วันละ 5-๘ แก้ว หรือให้เพียงพอกับปริมาณ ที่สูญเสียไปในแต่ละวัน.. อาหารประเภทเนื้อสัตว์ เพราะเป็น สรุปความรู้

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
ชีววิทยา มัธยมปลาย

มีใครได้ข้อ3,4,9ไหมคะ ขอบคุณล่วงหน้าเลย🙏❤️

ทำไมสิ่งมีชีวิตจึงต้องมีการรักษาสมดุลของร่างกาย เอาจมีการปรบ ยวย่นมีใบหู สร้างของร่าง 2. 3. การรักษาสมดุลของร่างกายเกี่ยวข้องกับกระบวนการใดบ้าง จงอธิบาย 4. ของเสียที่มีในโตรเจนเป็นองค์ประกอบเกิดจากการสลายสารอาหารประเภทใด ทั้งสองลักษ และกำจัดออกจากร่างกายอย่างไร 5. ถ้า pH ของเลือดต่ำกว่าปกติ ร่างกายจะมีกระบวนการจัดการอย่างไร 6. การระเหยของเหงื่อขึ้นอยู่กับปัจจัยใดบ้าง อย่างไร 7. การขับเหงื่อของมนุษย์กับการคายน้ำของพืชเหมือนกันหรือแตกต่างกัน อย่างไร 8. เหตุใดผู้ป่วยที่มีอาการท้องเสีย แพทย์จึงให้ดื่มน้ำเกลือแร่ 9. เมื่อนักเรียนไม่สบายมีไข้ เพราะเหตุใดนักเรียนจึงรับประทานอาหารได้น้อยลง 10. ไตเกี่ยวข้องกับการรักษาสมดุลของร่างกายอย่างไร

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
ชีววิทยา มัธยมปลาย

รบกวนหน่อยครับ

21:21 น. 73% การตกไข่ 57. เมื่อนำเลือดหญิงตั้งครรภ์ 5 เดือน ไปตรวจจะพบระดับฮอร์โมนตามข้อใด ระดับสูง ระดับต่ำ 1. LH E FSH P 2. FSH E LH P น. 3. LH P FSH E P LH E E = estrogen 4. FSH P FSH P = progesterone 5. LH E 58. สารและฮอร์โมนในข้อใดเกี่ยวข้องกับตับอ่อนและตับของคน 1. ก = กลูโคส, ข = ไกลโคเจน, ค = อินซูลิน, ง = กลูคากอน 2. ก = ใกลโคเจน, ข = กลูโคส, ค = อินซูลิน, ง = กลูคากอน 3. ก = ไกลโคเจน, ข = กลูโคส, ค = กลูคากอน, ง = อินซูลิน 4. ก = กลูโคส, ข = ไกลโคเจน, ค = กลูคากอน, ง = อินซูลิน 5. ก = ไกลโคเจน, ข = กลูโคส, ค = อินซูลิน, ง = คอร์ติซอล | น้ำตาลในเลือดสูงขึ้น ระดับน้ำตาลในเลือดสูง ตับออนส น้ำตาลในเลือดต่ำลง ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ 59. เมื่อนำปัสสาวะของนางมะลิมาทดสอบกับสารละลายเบเนดิกต์ แล้วนำไปต้มจนเดือดได้ตะกอนสีอิฐของ Cu,0 แสดงว่านางมะลิขาดฮอร์โมนชนิดใด 1. อินซูลิน 4. คอร์ติซอล 3. โพรเจสเทอโรน 2. กลูคากอน 5. แอนติไดยูเรติกฮอร์โมน (ADH) 60. ในการสังเคราะห์อินซูลินของเซลล์ตับอ่อน จะมีการทำงานร่วมกันของออร์แกเนลล์ตามลำดับขั้นตอนคาม ข้อใด ข. เอนโดพลาสมิกเรติคิวลัม ค. กอลจิบอดี ก. นิวเคลียส ง. ไลโซโซม จ. ไรโบโซม 3. ก * ค -+ ข +ง 1. จ %ข * ค ง 2. จ *ข *ง * ค 4. ก + ป * ข * ค 5. ก + ป + ข * ค *ง จากผลการวัดระดับน้ำตาลในเลือดของนาย ก. 61. และนาย ข หลังจากรับประทานอาหารประเภท คาร์โบไฮเดรต เปรียบเทียบกับนาย ค ขณะว่ายน้ำ 200F 150 ถ้านาย ก และนาย ข ออกกำลังกายโดยว่ายน้ำ อย่างหนักเหมือนนาย ค ระดับน้ำตาลในเลือด 100 50 0 0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0 3.5 4.0 ควรเป็นอย่างไร ช่วงเวลาหลังจากรับประทานอาหาร (ชม.) 1. ก> ค > ข น 2. ก > ข > ค 3. ก = ข = ค 4. ภ ใกล้เคียงกับ ข แต่สูงกว่า ค. 5. ข ใกล้เคียงกับ ค แต่ต่ำกว่า ก. 62. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับกลไกการออกฤทธิ์ของฮอร์โมน ก. ตัวรับฮอร์โมนพวกโปรตีนและสเตอรอยด์จะอยู่ที่ตำแหน่งต่างกันของเซลล์ ข. ฮอร์โมนพวกเพปไทด์และเอมีนสามารถผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้ ค. ฮอร์โมนพวกสเตอรอยด์เกี่ยวข้องกับตัวนำข่าวสารตัวที่สอง 1. ข้อ ก 2. ข้อ ข 3. ข้อ ก และ ข 4. ข้อ ข และ ค 5. ข้อ ก, ข และ ค 63. ไต ต่อมไทรอยด์ และต่อมพาราไทรอยด์ ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมควบคุมการทำงานในข้อใดร่วมกน 1. ปริมาณน้ำตาลในเลือด 4. การเจริญเติบโตของร่างกาย 2. ความดันเลือด 3. ปริมาณแคลเซียมไอออนในเลือด 5. ปริมาณ Na, K', CI ในเลือด ถ้าตัดอวัยวะ A ออกจะไม่มีผลกระทบต่อข้อใด 1. การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด 64. ระดับน้ำตาลในเลือด (mg/100 cm)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

🙏🏻🙏🏻🙏🏻🙏🏻🙏🏻

14. ผู้ที่รับประทานอาหารมังสวิรัติจะไม่ขาดกรดอะมิโนที่จำเป็น คือ methionine และ lysine ซึ่งมถั่ งมีถั่วและ ข้าวโพด ตามลำดับ หากรับประทานอาหารตามข้อใด 1. อาหารที่ปรุงจากถั่วและข้าวโพดวันละ 1 มื้อ ทุกวัน 2. อาหารที่ปรุงจากถั่วและข้าวโพดสลับวันกัน 3. อาหารกลางวันปรุงจากข้าวโพดและอาหารเย็นปรุงจากถั่ว 4. อาหารปรุงจากถั่วหรือข้าวโพดอย่างเดียวแต่ละวันตามฤดูกาล 15 โครงสร้างของสารเคมีใดที่สามารถสร้างพันธะเพปไทด์ได้ NH, CH, C-H CH, H-C-OH SH,-0--๕ CH-0-2-" CH, HO -C-H H,C CH) H-C-OH =0 H,N -C-COOH H-C-OH H CH,OH CH,-0-C-R" H A B C D 1. A 2. B 3. C 4. D 16. ข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเมื่อให้ความร้อนกับอาหารเป็นเวลานานจนสายเพปไทด์สลายตัวเป็น กรดอะมิโน 1. การเสียสภาพ (denaturation) 2. ไฮโดรไลซิส (hydrolysis) 3. ไกลโคไลซิส (glycolysis) 4. ฟอสโฟรีเลชั่น (phosphorylation) 17. ข้อใดไม่มีการแปลงสภาพของโปรตีน 1. การบีบมะนาวในกุ้งเต้น 2. การใส่เกลือแกงลงในเนื้อหมู 3. การต้มไข่ในน้ำเดือดประมาณ 5 นาที 4. การเช็ดผิวหนังด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 18. โมเลกุลของสารในข้อใดประกอบด้วยโปรตีน A เคราทินของเส้นผม

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่า🥺🙏🏻

00:46 ศ. 30 ก.ค. จ 100% + X แบบฝึกหัด สารชีวิโมเลกุล1.pdf ป่า 0 ปี แบบทดสอบเก็บคะแนน เรื่องสารชีวโมเลกุล 1. ข้อใดเป็นจริงสำหรับแป้งและเซลลูโลส 1. เป็นพอลิเมอร์ของกลูโคส 2. ถูกย่อยในลำไส้ของคน 3. เป็นองค์ประกอบของผนังเซลล์พืช 4. เป็นแหล่งสะสมพลังงานในพืช 2. ถ้าต้องการสกัดสารไคทินจากผนังลำตัวหรือผนังเซลล์ ควรเลือกใช้สิ่งมีชีวิตกลุ่มใด 1. จิ้งหรีด ราขนมปัง 2. ตะขาบ สาหร่าย 3. ปลิงทะเล แบคทีเรีย 4. แม่เพรียง ยีสต์ 3. ในการทดสอบชนิดของน้ำตาลด้วยสารละลายเบเนดิกต์ที่ต้มในน้ำเดือด หากสารที่ทดสอบเป็น sucrose จะ ได้ผลเป็น เช่นไร 1. สารละลายสีส้มแดง 2. ตะกอนสีส้มแดง 3. สารละลายสีเขียวอมฟ้า 4. ตะกอนสีเขียวอมฟ้า 4. ข้อใดบ้างที่เมื่อย่อยเป็นโมเลกุลเดี่ยวแล้วสามารถทำปฏิกิริยากับสารละลายเบเนดิกต์ได้ A fructose B maltose C Sucrose D glycogen 1. A B 2. B C 3. B D 4. B C D 5. ข้อใดเกี่ยวข้องกับไขมัน A ช่วยละลายแร่ธาตุละลายในเยื่อหุ้มเซลล์ แพร่เข้าสู่เซลล์ได้ B ช่วยให้สารอาหารมีการดูดซึม C ช่วยให้วิตามิน A C D และ E ถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกายได้ D ช่วยให้ผิวหนังไม่แห้งและตกกระ 1. A B C 2. B C D 3. A C D 4. A B D

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

มันทำยังไงคะ หนูไม่เข้าใจ

คำชี้แจง เติมคำลงในปริศนาอักษรไชว้ให้ถูกต้อง แนวนอน แนวตั้ง ๑. แก๊สในเลือดที่มีปริมาณมากขึ้น หลังจากเลือด ไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกายแล้วกลับเข้า สู่หัวใจ ๒. เป็นหลอดเลือดที่นำเลือดออกจากหัวใจไปยัง ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เป็นหลอดเลือดที่นำเลือดจากส่วนต่าง ๆ ของ ๑ เป็นอวัยวะที่มีการแลกเปลี่ยนแก๊ส ที่มาจากนอกร่างกายกับแก๊สใน เลือด ๒ เป็นอวัยวะที่มีการดูดซึมสารอาหาร ที่ผ่านการย่อยเข้าสู่หลอดเลือด ๓. เป็นหลอดเลือดขนาดเล็ก จำนวนมาก เกิดการแลกเปลี่ยนแก็ส ในเลือดกับส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้ ร่างกายกลับไปยังหัวใจ ๔. แก๊สที่มีมากในเลือดที่ออกจากหัวใจ ไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1