ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

เคมี มัธยมปลาย

คือเรามีคำตอบแล้วค่ะ แต่เราอยากได้คำอธิบายว่าทำไมถึงตอบข้อนั้นอ่ะค่ะ

00:37 = QuเzIzz Q ป้อนรหัส เข้าสู่ระบบ เพิ่มอุณหภูมิ เพิ่มความเข้มข้นของสารตั้งต้น X 2. ปรนัย Q. ระบบนี้เป็นปฏิกิริยาดูดความร้อน ซึ่งอยู่ในภาวะสมดุล ข้อความใดเป็นคำกล่าวที่ ไม่ถูก PCl (g) * PCl,(g) + Cl,(g) ต้อง answer choices การเพิ่มความเข้มข้นของPCls สมดุลจะเลื่อนไปทางขวา การเพิ่มอุณหภูมิทำให้ตำแหน่งของสมดุลเลื่อนไปทาง ขวา การลดความดันจะทำให้สมดุลเลื่อนไปทางขวา ตัวเร่งปฏิกิริยาจะทำให้ตำแหน่งสมดุลเลื่อนไปทางขวา 2 ซ่อนคำตอบ รายงานปัญหา ก่อนหน้า ถัดไป กก 6quizizz.com <

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยนะคะ🙏🏻🥺

1. กรด H,SO, เข้มข้น 0.12 mo/dm ปริมาตร 250 cm มีเนื้อกรด H,SO, อยู่กีกรัม 2. สารละลายกลูโคส (C,H;2O,) มีความเข้มข้นร้อยละ 36.0 โดยมวล และมีความหนาแน่น 2 g/cm สารละลายนี้มีความเข้มข้นเท่าใดในหน่วยโมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร (โมลาริตี) 3 3. จงคำนวณหาเศษส่วนโมลของกรดไฮดดรคลอริก (HCI) เมื่อมี HCL จำนวน 36.5 กรัม และมีน้ำ (H,O) จำนวน 72 กรัม 4. จงหามวลและจำนวนอนุภาคของแก๊สไฮโดรเจนมีปริมาตร 112,000 ml ที่ STP จงหามวลและจำนวนอนุภาคของแอมโมเนีย (NH) จำนวน 51.0 กรัม สาร A มวล 2.40 กรัม ละลายในสารละลายที่มีปริมาตร 200.0 มิลลิลิตร จงคำนวณความเข้มข้นของสารละลายใน 5 หน่วย moVdm (สาร A มีมวลโมเลกุล 120) A มีมวลเป็นกี่เท่าของ 1 มวลของ C 1 อะตอม 12 6 ธาตุ A 10 อะตอม มีมวลเท่ากับ 120 x 1.66 x 10-24 กรัม ธาตุ 1 มวลของ 1C 1 อะตอม มวลอะตอมของ X เท่ากับเท่าใด 12 7 ธาตุ X 1 อะตอมมีมวลเป็น 270 เท่าของ ของ ธาตุ M ประกอบด้วย 3 ไอโซโทป คือไอโซโทปที่มีมวลอะตอม 19.0, 17.0 และ 15.0 โดยไอโซโทปที่มวลอะตอม 19.0 และ 8 17.0 พบในธรรมชาติร้อยละ 20.0 และ 30.0 ตามลำดับ จงหามวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุ M 9 จงคำนวณร้อยละโดยมวลของออกซิเจนในสารประกอบ CaCO, 10 สารประกอบออกไซด์ของโลหะ M ซึ่งประกอบด้วย ธาตุ M 84% โดยมวลสารประกอบนี้มีสูตรเอมพิริคัลและสูตรโมเลกุล อย่างไร. (มวลอะตอม M = 63 มวลอะตอมของ O = 16, มวลโมเลกุลของสารประกอบออกไซด์ เท่ากับ 600

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ🙏🏻💕

1. กรด H,SO, เข้มข้น 0.12 mo/dm ปริมาตร 250 cm มีเนื้อกรด H,SO, อยู่กี่กรัม 2. สารละลายกลูโคส (C,H;2O,) มีความเข้มข้นร้อยละ 36.0 โดยมวล และมีความหนาแน่น 2 g/cmท สารละลายนี้มีความเข้มข้นเท่าใดในหน่วยโมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร (โมลาริตี) 3. จงคำนวณหาเศษส่วนโมลของกรดไฮดดรคลอริก (HCI) เมื่อมี HC จำนวน 36.5 กรัม และมีน้ำ (H,0) จำนวน 72 กรัม 4. จงหามวลและจำนวนอนุภาคของแก๊สไฮโดรเจนมีปริมาตร 112,000 ml ที่ STP ภาคของแอมโมเนีย (NH.) จำนวน 51,0 กรัม จงหามวลและจำน สาร A มวล 2.40 กรัม ละลายในสารละลายที่มีปริมาตร 200.0 มิลลิลิตร จงคำนวณความเข้มข้นของสารละลายใน 5 หน่วย moVdm (สาร A มีมวลโมเลกุล 120) 6 ธาตุ A 10 อะตอม มีมวลเท่ากับ 120 x 1.66 x 10-24 กรัม ธาตุ A มีมวลเป็นกี่เท่าของ มวลของ C 1 อะตอม 12 1 7 ธาตุ X 1 อะตอมมีมวลเป็น 270 เท่าของ ของ มวลของ C 1 อะตอม มวลอะตอมของ X เท่ากับเท่าใด 12 ธาตุ M ประกอบด้วย 3 ไอโซโทป คือไอโซโทปที่มีมวลอะตอม 19.0, 17.0 และ 15.0 โดยไอโซโทปที่มวลอะตอม 19.0 และ 17.0 พบในธรรมชาติร้อยละ 20.0 และ 30.0 ตามลำดับ จงหามวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุ M 8 9 จงคำนวณร้อยละโดยมวลของออกซิเจนในสารประกอบ CaCO, 10 สารประกอบออกไซด์ของโลหะ M ซึ่งประกอบด้วย ธาตุ M 84% โดยมวลสารประกอบนี้มีสูตรเอมพิริคัลและสูตรโมเลกุล อย่างไร. (มวลอะตอม M = 63 มวลอะตอมของ O = 16, มวลโมเลกุลของสารประกอบออกไซด์ เท่ากับ 600

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยงับ วิทยาศาสตร์

แบบฝึกหัดที่ 2.2 เลือกคำที่กำหนดให้ แล้วนำไปเติมหน้าข้อความที่มีความสัมพันธ์กัน แอกทีฟทรานสปอร์ต พลังงานจลน์ การแพร่ เวสิเคิล อะดีโนซีนไตรฟอสเฟต โปรตีนตัวพา แ2 พลังงานศักย์ เยื่อเลือกผ่าน ภาวะสมดุลของการแพร่ เอนโดไซโทซิส การแพร่แบบฟาซิลิเทต เอกโซไซโทซิส ดีออกซีไรโบนิวคลีอิก โปรตีนตัวรับ ออสโมซิส ฟอสโฟลิพิด 1. สารขนาดใหญ่ที่บรรจุอยู่ในเวสิเคิลจะเคลื่อนที่มารวมกับเยื่อหุ้มเซลล์ เพื่อปล่อยสารออกนอกเซลล์ 2. การเคลื่อนที่ของอนุภาคสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นสูงไปสู่บริเวณ ที่มีความเข้มข้นต่ำ จนความเข้มข้นของสารทั้งสองบริเวณเท่ากัน 3. การลำเลียงแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จากเซลล์เม็ดเลือดแดงสู่ถุงลม เพื่อ กำจัดออกจากร่างกาย 4. คุณสมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์ที่จะยอมให้สารบางชนิดสามารถผ่านเข้า-ออก จากเซลล์ได้ 5. สารพลังงานสูงของเซลล์ที่ช่วยผลักดันให้เกิดการลำเลียงสารจากบริเวณ ที่มีความเข้มข้นต่ำไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นสูง 6. การทำลายเชื้อโรคของเซลล์เม็ดเลือดขาว โดยการโอบล้อมเชื้อโรคเพื่อ นำเข้ามาย่อยสลายภายในเซลล์ 7. พลังงานที่ทำให้อนุภาคสารเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา ซึ่งอนุภาคสารจะเกิด การชนกัน และกระจายไปยังบริเวณอื่นๆ 8. การลำเลียงสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นต่ำไปยังบริเวณที่มีความ ส่ 9 เข้มข้นสูงผ่านช่องโปรตีนตัวพา และอาศัยพลังงานช่วยในการลำเลียง 9. บริเวณที่อนุภาคสารถูกลำเลียงผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ของการแพร่แบบ ฟาซิลิเทต และการลำเลียงโดยใช้พลังงาน 10. ถุงบรรจุสารขนาดใหญ่ เช่น คาร์โบไฮเดรต โปรตีน เพื่อใช้ในการลำเลียง สารเข้า-ออกจากเซลล์ องค์ประกอบของสิ่งมี ึงมีชีวิต 21

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ใครช่วยได้บ้างคะ🥺

คลการทดลอง Fe (aq) + SCN Caq)e [Fe(SCN)]เ2) ซึ่งหทง ไม่มีสี่ หลาท สารละลยที่เริม กี่ยมสาละลาย สสัม 1 2 |a.1 ๆ ECNO.), 3 0.1 ๆ KSCN สิ่ทองอดนก 4 0.1 ฯ NH,OH ชานที่ 2 ผลา0อุกณหภูมิr่อระบบสัมดุล [Co(H,0),3 ca) * 4C (e) - [Co Cl.] cag) &H,0(1) สีน้ำเงิน ที่ของสารละกาย รoดที่ จุณหภูมิน้ำ (t) สม่วย สมดุล กิลบัติกิริชาโปรางหน้า เ5 % ทีน้กเงิน 1 ซ.3 % เกิดปฏิกิริยายัอนกสับ 3 "อนที่ 3 องฯังโอออนร่วมr่งสภาวะสมดุล Pb (34) + 2cl (ag) รaอกที่ สารจวายที่บริม ไม่มีการเปลี่ยนแปลง เกิดปิกิชายัวนกลับ 2 14 6(CHACoo) สรุปและวิจารณ์ผลการทดลอง คำถามท้ายการทดลอง 1. ในสภาวะสมดุลการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสาร มีผลต่อสมดุลเคมีอย่างไร อธิบายตาม หลักของเลอชาเตอริเยร์ 2. จากการทดลองปฏิกิริยาต่อไปนี้ เป็นปฏิกิริยาชนิดดูดหรือคายความร้อน เพราะเหตุใด เมื่อให้อุณหภูมิของระบบต่ำลงโดยแช่น้ำแข็งแก๊สผสมจะมีสีน้ำตาลแดงจางลง และเมื่อให้อุณหภูมิของระบบ สูงขึ้นโดยแช่ในน้ำร้อน แก๊็สผสมจะมีสีน้ำตาลแดงเข้มขึ้น 2 NO (g) * N.0,(9) (สีน้ำตาลแดง) (ไม่มีสี)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยนะคะฮือ🙏🏼💖

แนวนอน 5. โครงสร้างที่พบในเซลล์สัตว์ ประกอบด้วยไมโครทูบูลเป็นแกนของเซนโทรโซม 8. ถุงที่มีเยื่อหุ้ม 1 ชั้น สร้างมาจากกอลจิคอมเพล็กซ์ มีเอนไซม์สำหรับย่อยสลายสารภายในเซลล์ 10. สิ่งมีชีวิตที่ไม่มีเยื่อหุ้มล้อมรอบสารพันธุกรรมและไม่มีออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม 14. กระบวนการนำสารที่ไม่ละลายน้ำเข้าสู่เซลล์ โดยการยื่นส่วนของเยื่อหุ้มเซลล์ออกไปหุ้ม 16. โครงสร้างที่ประกอบด้วย DNA และโปรตีนเป็นเส้นที่ขดตัวหนาเห็นได้ชัดเจนในระยะแบ่งเซลล์ เมื่อศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์ 17. โครโมโซมที่มีลักษณะเหมือนกัน ขนาดเท่ากัน ตำแหน่งเซนโทรเมียร์ตรงกันและมียีนที่ควบคุม ลักษณะเดียวกันมีตำแหน่งตรงกัน เรียกว่า .. chromosome สส 19. การแบ่งนิวเคลียสของเซลล์ที่ทำให้ได้เซลล์ลูกมีจำนวนโครโมโซมลดลงครึ่งหนึ่ง 20. ออร์แกเนลล์ขนาดเล็กภายในเซลล์ ทำหน้าที่ในการสังเคราะห์โปรตีน ๕ส่ 0 ๆ นฯ ข แนวตั้ง 1. ออร์แกเนลล์ที่พบในเซลล์พืชที่บรรจุคลอโรฟิลล์ซึ่งใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง 2. ส่วนของโครโมโซมเดิมและโครโมโซมใหม่ที่สร้างขึ้นจากการจำลอง DNA ในระยะอินเตอร์เฟส ยึดติดกันตรงตำแหน่งเซนโทรเมียร์ 3. การแบ่งนิวเคลียสของเซลล์ที่ทำให้ได้เซลล์ลูก 2 เซลล์มีจำนวนโครโมโซมเท่าเดิม 4. โครงสร้างของเซลล์ที่เป็นเส้นใยสปินเดิล 6. การเคลื่อนที่ของน้ำผ่านเยื่อหุ้มเซลล์จากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารละลายต่ำไปยังบริเวณที่มี ความเข้มข้นของสารละลายสูง 7. กระบวนการที่เวสิเคิลภายในเซลล์เคลื่อนที่ไปรวมกับเยื่อหุ้มเซลล์เพื่อหลั่งสารออกนอกเซลล์ 9. ออร์แกเนลล์ขนาดเล็กที่มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น ทำหน้าที่สร้างพลังงานให้แก่เซลล์ ภายในมี DNA 11. สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวหรือหลายเซลล์ มีนิวเคลียสและมีออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม 12. บริเวณที่ sister chromatids แนบชิดกัน และเป็นบริเวณที่เกี่ยวข้องกับการยึดติดของเส้นใย สปินเดิลในระยะแบ่งเซลล์ 13. ส่วนประกอบของเซลล์ที่มีโครโมโซมอยู่ภายใน ทำหน้าที่ควบคุมกิจกรรมต่าง ๆ ภายในเซลล์ 15. ส่วนที่เป็นของเหลวภายในเซลล์ประกอบด้วยออร์แกเนลล์ต่าง ๆ การเคลื่อนที่ของตัวถูกละลายจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารละลายสูงไปยังบริเวณที่มีความ เข้มข้นของสารละลายต่ำกว่า จัดทำโดย สาขาวิทยาศาสตร์มัธยมศึกษาตอนปลาย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย

มีใครเคยทำUnit Questions 2 เคมีม.5เทอม1 นี้ไหมคะ มีใครพอทำได้บ้าง🤔

Unit Question 2 แสมุด คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ 1. กำหนดปฏิกิริยาให้ ดังนี้ A + 38 - 5C + 4D ถ้านำ A 1 โมล มาทำปฏิกิริยากับ B 5 โมล พบว่า เมื่อเวลาผ่านไป 10 วินาที มีสาร C เกิดขึ้น 4 โมล อัตราการสลายตัวเฉลี่ยของสาร B ในช่วง 0-10 วินาที มีค่ากี่โมลต่อวินาที นำโลหะสังกะสี 1.3 กรัม มาทำปฏิกิริยากับสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 0.5 โมลาร์ จำนวน 20 ลูกบาศก์เซนติเมตร ในช่วงนาทีแรก มีอัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนเท่ากับ 5.6 ลูกบาศก์เซนติเมตร/นาที ที่ STP อัตราการลดลงของสารละลายกรดไฮโดรคลอริกจะมีค่าเท่ากับ กีโมลาร์/นาที (กำหนดให้ มวลอะตอมของ Zn = 65) 2. เมื่อนำแมกนีเซียมจำนวน 7.2 กรัม มาทำปฏิกิริยากับสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 3 โมล/ลูกบาศก์เดซิเมตร จำนวน 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร เมื่อเวลาผ่านไป 1 นาที ปฏิกิริยา สิ้นสุดลงพอดี อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจะมีค่าเท่ากับกี่โมล/วินาที 3. Sh SL 4. จากการศึกษากลไกของปฏิกิริยา 2NO, (8) + F, (8) 2NO.F (8) มีกลไก 2 ขั้นตอน ดังนี้ NO (8) + F, (8) NO.F (g) + F (g) : เกิดช้า F (g) + NO (8) NO.F (g) ; เกิดเร็ว กฎอัตราของปฏิกิริยานี้เป็นอย่างไร 5. แก๊ส NO, สลายตัว ดังสมการ 2NO, (8) - 2NO (g) + 0, (8) ถ้าอัตราการสลายตัวของแก๊ส NO, มีค่าเท่ากับ 4.4 x 10 โมล/ลูกบาศก์เดซิเมตร-วินาที อัตราการเกิดแก๊ส 0, จะมีค่าเท่ากับกี่โมล/ลูกบาศก์เดซิเมตร-วินาที เมื่อนำแก๊สไนโตรเจนมอนอกไซด์ (NO) มาทำปฏิกิริยากับแก๊สคลอรีน (Cl,.) เกิดเป็นแก๊ส ไนโตรซิลคลอไรด์ (NOCI) เพิ่มขึ้นด้วยอัตรา 0.045 โมล/ลูกบาศก์็เดซิเมตร-วินาที อัตราการลดลง 6. ของแก๊สไนโตรเจนมอนอกไซด์ ณ ช่วงเวลาเดียวกันมีค่าเท่าใด อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี | 87

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0