เคมี
มัธยมปลาย
มีใครเคยทำUnit Questions 2 เคมีม.5เทอม1
นี้ไหมคะ มีใครพอทำได้บ้าง🤔
Unit Question 2
แสมุด
คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้
1. กำหนดปฏิกิริยาให้ ดังนี้
A + 38
- 5C + 4D
ถ้านำ A 1 โมล มาทำปฏิกิริยากับ B 5 โมล พบว่า เมื่อเวลาผ่านไป 10 วินาที มีสาร C
เกิดขึ้น 4 โมล อัตราการสลายตัวเฉลี่ยของสาร B ในช่วง 0-10 วินาที มีค่ากี่โมลต่อวินาที
นำโลหะสังกะสี 1.3 กรัม มาทำปฏิกิริยากับสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 0.5 โมลาร์
จำนวน 20 ลูกบาศก์เซนติเมตร ในช่วงนาทีแรก มีอัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนเท่ากับ 5.6
ลูกบาศก์เซนติเมตร/นาที ที่ STP อัตราการลดลงของสารละลายกรดไฮโดรคลอริกจะมีค่าเท่ากับ
กีโมลาร์/นาที (กำหนดให้ มวลอะตอมของ Zn = 65)
2.
เมื่อนำแมกนีเซียมจำนวน 7.2 กรัม มาทำปฏิกิริยากับสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น
3 โมล/ลูกบาศก์เดซิเมตร จำนวน 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร เมื่อเวลาผ่านไป 1 นาที ปฏิกิริยา
สิ้นสุดลงพอดี อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจะมีค่าเท่ากับกี่โมล/วินาที
3.
Sh
SL
4.
จากการศึกษากลไกของปฏิกิริยา
2NO, (8) + F, (8)
2NO.F (8)
มีกลไก 2 ขั้นตอน ดังนี้
NO (8) + F, (8)
NO.F (g) + F (g) : เกิดช้า
F (g) +
NO (8)
NO.F (g) ; เกิดเร็ว
กฎอัตราของปฏิกิริยานี้เป็นอย่างไร
5.
แก๊ส NO, สลายตัว ดังสมการ
2NO, (8)
- 2NO (g) + 0, (8)
ถ้าอัตราการสลายตัวของแก๊ส NO, มีค่าเท่ากับ 4.4 x 10 โมล/ลูกบาศก์เดซิเมตร-วินาที
อัตราการเกิดแก๊ส 0,
จะมีค่าเท่ากับกี่โมล/ลูกบาศก์เดซิเมตร-วินาที
เมื่อนำแก๊สไนโตรเจนมอนอกไซด์ (NO) มาทำปฏิกิริยากับแก๊สคลอรีน (Cl,.) เกิดเป็นแก๊ส
ไนโตรซิลคลอไรด์ (NOCI) เพิ่มขึ้นด้วยอัตรา 0.045 โมล/ลูกบาศก์็เดซิเมตร-วินาที อัตราการลดลง
6.
ของแก๊สไนโตรเจนมอนอกไซด์ ณ ช่วงเวลาเดียวกันมีค่าเท่าใด
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี | 87
พลังงาน (kI/mol)
7. จากปฏิกิริยา 2A + 23
- 2C 4 D
อัตราการเกิด D
3
ความเข้มข้นเริ่มต้นของ (mol/dm)
(mol.dm
การทดลอง
M
A
0.48 x 10 3
1
1 x 10 ?
3
4 x 10
2 x 10 ปี
0.48 x 10
2
2
1 x 10
3
2 x 10 ง
4 x 10
0.24 x 10 3
3
1 x 10 ?
2 x 10าง
2 x 10 3
0.96 x 10
4
5 x 10 3
2 x 103
2 x 103
อัตราการเกิดปฏิกิริยาข้างต้นขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของสารโด
ขั้นตอน และความสัมพันธ์ระหว่างพลังงาน
8.
กำหนดปฏิกิริยาของ A
กับการดำเนินไปของปฏิกิริยาเป็น ดังกราฟ
+ C มี 2
E,
E,
B
A
การดำเนินไปของปฏิกิริยา
ภาพที่ 2.38 การดำเนินไปของปฏิกิริยาของ A
ที่มา : คลังภาพ อจท.
- C
ขั้นตอนที่
ปฏิกิริยา
พลังงานก่อกัมมันต์
พลังงานของปฏิกิริยา
(kJ/mol)
(kJ/mol)
1
A
B
E
AE,
A
2
B
C
E.
B
ปฏิกิริยาสุทธิ
A
E
AE
AE E และ E
ของปฏิกิริยานี้มีค่าเท่าใด
88
ง
สาร A ทำปฏิกิริยากับสาร B ได้สาร (C จากการทดลอง พบว่า มีอัตราการเกิดปฏิกริยา
เท่ากับ เท่าของอัตราการลดลงของสาร A หรือมีค่าเท่ากับ 4 เท่าของอัตราการลดลงของ
สาร B หรือมีค่าเท่ากับ
9.
5
1
เท่าของอัตราการเกิดสาร C สมการที่แทนการเกิดปฏิกิริยาจะเป็น
3
อย่างไร
10. พิจารณาปฏิกิริยาต่อไปนี้
A + 2B
3C + 5D
พลังงานของสารตั้งต้น A และ B มีค่าน้อยกว่าพลังงานของ C และ D อยู่ 250 กิโลจูล
ถ้าค่าพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาย้อนกลับมีค่าเท่ากับ 510 กิโลจูล พลังงานก่อกัมมันต์
ของปฏิกิริยาไปข้างหน้าจะมีค่าเท่าใด และปฏิกิริยาไปข้างหน้ามีการเปลี่ยนแปลงพลังงานแบบใด
11. ปฏิกิริยา A (s) + B (aq)
ที่ทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น
* C (aq) + D (aq) เป็นปฏิกิริยาคายความร้อน การกระทำใด
ก) ลดอุณหภูมิ
ข) ลดความดัน
ค) ลดขนาดของ A
ง) เพิ่มความเข้มข้นของ B
จ) ลดปริมาณของ D
ฉ) เพิ่มขนาดของ A
ช) เพิ่มอุณหภูมิ
ซ) เติมตัวเร่งปฏิกิริยา
12. กำหนดปฏิกิริยาต่อไปนี้
2A + B
2C + D
ความเข้มข้นของ (mol/dm)
อัตราการเกิด C
(mol-dm s )
การทดลอง
A
B
1
0.1
0.1
4.0
0.1
0.2
8.0
0.3
0.2
24.0
3
ค่า k ของปฏิกิริยานี้มีค่าเท่าใด
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 89
คำตอบ
ยังไม่มีคำตอบ
ข้อสงสัยของคุณเคลียร์แล้วหรือยัง?
เมื่อดูคำถามนี้แล้ว
ก็จะเจอคำถามเหล่านี้ด้วย😉
สมุดโน้ตแนะนำ
สรุปเคมี ม.ปลาย
14536
50
เคมีม.4
6595
13
[GAT/PAT] สรุปเคมีฉบับกระชับ
4108
9
สรุปเคมีอินทรีย์ : ม.6
3409
8