ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ ทำไม่ได้เลย🥲

***** ****** แบบฝึกหัด คําสั่ง : จงตอบคําถามต่อไปนี้ 1. จงทำเครื่องหมาย จ หน้าข้อความที่ถูกต้องและทำเครื่องหมาย X หน้าข้อความที่ผิด พร้อมทั้งแก้ข้อความที่ผิดให้ถูกต้อง www. m --------------- ************** ********** ******** 1) เดอเบอไรเนอร์เป็นผู้จัดตั้งกฎแห่งสามขึ้น โดยเป็นกฎที่ทำให้เกิดการจัดธาตุเป็นกลุ่ม ๆ ละ 3 ธาตุ ถ้าข้อผิด แก้ไขเน 2) นิวแลนด์เป็นผู้เสนอการจัดตารางธาตุที่ว่า ถ้านำธาตุมาเรียงตามมวลอะตอม จะพบว่าธาตุที่ 7 มีสมบัติคล้ายกับธาตุที่ 1 ถ้าข้อนี้ผิด แก้ไขเป็น 3) Law of octaves ใช้กับธาตุได้เพียง 30 ตัวแรกเท่านั้น ถาขอนผิด แก้ไขเป็น 4) กฎการจัดธาตุของนิวแลนดใช้ได้ถึงธาตุ Ca เท่านั้น ถ้าข้อผิด แก้ไขเป็น 5) กำหนดให้ธาตุชุดหนึ่งประกอบด้วย Ca Sr Ba หากธาตุกลุ่มนี้เป็นไปตามกฎแห่งสาม มวลอะตอมของ Sr จะเป็น 88.5 ถาขอนผิด แก้ไขเป็น 6) ไมเออร์และเมเตเลเอฟตั้งข้อสังเกตว่า ถ้าเรียงธาตุตามลำดับเลขอะตอมจากน้อยไปมาก จะพบว่าธาตุมีสมบัติคล้ายคลึงกันเป็นช่วง ๆ ถาขอนผิด แก้ไขเป็น 7) การออกของโมสลีย์คือกฎที่นำมาสู่การจัดสร้างตารางธาตุที่ใช้ในปัจจุบันนี้ ถ้าข้อผิด แก้ไขเป็น 8) ธาตุในปัจจุบันมีทั้งธาตุที่ค้นพบในธรรมชาติ ธาตุที่สังเคราะห์ขึ้นและธาตุที่ได้จากการแผ่รังสี ถ้าข้อนี้ผิด แก้ไขเป็น *********** 9) กฎรออกของโมสลีย์ถูกนำมาสร้างเป็นตารางธาตุในปัจจุบัน จึงยกย่องให้ไม่สลียบิดาแห่งตารางธาตุ ถ้าข้อนี้ผิด แก้ไขเป็น ********* ************ 10) ตารางธาตุในปัจจุบันเกิดจากการนำธาตุมาเรียงตามมวลอะตอม (Atomic mass) ถ้าข้อนี้ผิด แก้ไขเป็น *****

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยครับ

A. B. C. D. E. F. G. H. I. J. มุมความรู้ คำสั่ง : จงตอบคำถามในข้อต่อไปนี้ 7. จงพิจารณาว่าเมื่อเปลี่ยนแปลงความดันของระบบ ระบบของปร ของปฏิกิริยาต่อไปนี้จะปรับตัวเข้าสู่สมดุลใหม่อย่างไร โดยแสดงเครื่องหมาย () เมื่อระบบเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า และเครื่องหมาย (4) เมื่อระบบเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ ● V การรบกวนสมดุลโดยการเปลี่ยนความดัน หลักการพิจารณาว่าระบบจะปรับตัวเข้าสู่สมดุลใหม่อย่างไร ให้พิจารณาจำนวนโมล (เลขสัมประสิทธิ์ ของแก๊สในสารตั้งต้น กับจำนวนโมลของแก๊สในผลิตภัณฑ์เท่านั้น ดังนี้ - ถ้าเพิ่มความดันให้กับระบบ : ระบบจะปรับตัวเข้าสู่สมดุลใหม่ โดยจะเลื่อนไปทางที่มีจำนวนโมลน้อยกว่า - ถ้าลดความดันให้กับระบบ : ระบบจะปรับตัวเข้าสู่สมดุลใหม่ โดยจะเลื่อนไปทางที่มีจำนวนโมลมากกว่า - ถ้าระบบที่มีจำนวนโมลของแก๊สเท่ากันทั้งในสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ การเพิ่มหรือลดความดันจะไม่มีผลต่อระบบ N₂(g) + 3H₂(g) 2NH3(g) N₂O4(g) 2NO₂(g) 2HBr(g) + Cl₂(g) 2CO2(g) = 2CO(g) + O2(g) 2SO₂(g) + O₂(s) = 2SO3(g) PC15(g) PC (g) CH₂(g) + 2H₂S(g) = 3Fe(s) + 4H₂O(g) = C(s) + 2H₂O(g) = 4NH(g) + 50₂(g) ● ตอบ ปฏิกิริยา ตอบ 2NO₂(g) N₂O4(g) 2HCI(g) + Br₂(g) + Cl₂(g) CS₂(g) + 4H₂(g) Fe3O4(s) + 4H₂(g) เมื่อเพิ่มความดันของระบบ ปฏิกิริยาใดบ้างที่มีผลิตภัณฑ์เกิดมากขึ้น ตอบ • เมื่อลดความดันของระบบ ปฏิกิริยาใดบ้างที่มีผลิตภัณฑ์เกิดมากขึ้น CO₂(g) + 2H₂(g) 4NO(g) + 6H₂O(g) จํานวนโมลของแกส การรบกวนสมดุลของระบบ ยู น สารตงตน ผลิตภัณฑ เพิ่มความดัน ลดความดัน 4 2 เมื่อเพิ่มหรือลดความดันในปฏิกิริยาใดบ้าง ที่ไม่มีผลต่อการรบกวนสมดุลของปฏิกิริยา

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะะเคมีม.6

40 แบบฝึกหัด 12.5 1. A B และ C เป็นสารประกอบแอโรแมติกไฮโดรคาร์บอน และมีโครงสร้างดังนี้ สาร โครงสร้าง A B C จงเรียงลำดับจุดเดือดของสารจากมากไปน้อย พร้อมอธิบายเหตุผล 2. ในการทดลองเติมผงแนฟทาลีนหรือลูกเหม็น (CyoH,) ปริมาณ 0.1 กรัม ลงในหลอดทดลอง ที่มีสารผสมระหว่างน้ำกลั่นและเฮกเซนอย่างละ 5 มิลลิลิตร จากนั้นเขย่าแรง ๆ และตั้งไว้ 3 นาที จงวาดรูปแสดงผลการทดลอง พร้อมอธิบายเหตุผล (กำหนดให้ ความหนาแน่น ของเฮกเซน = 0.66 กรัมต่อมิลลิลิตร) โครงสร้างของแนฟทาลีนหรือลูกเหม็น "รากของการศึกษามันขม แต่ผลของมันนั้นหวาน" ครูตะวัน ครูเคมี ครูใจดีที่สุดในโลก

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

วิทย์กายภาพเคมี ม.4

ใบงาน เรื่อง องค์ประกอบในอากาศ วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 ื่อ บทที่ 1 อากาศ เลขที่ อ) มุมความรู้ สัดส่วนองค์ประกอบในอากาศ แก้สในโตรเจน 78% แก๊สอื่น ๆ เช่น แก๊สอาร์กอน 0.9% แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 0.04% แก๊สฮีเลียม 0.0005% แก๊สออกซิเจน 21% 1. จงนำตัวอักษรหน้าข้อความทางขวามือไปเติมหน้าข้อที่มีความสัมพันธ์กันต่อไปนี้ (ตัวอักษรสามารถซ้ำข้อได้) 1) มีปริมาณมากที่สุดในอากาศ 2) มีปริมาณน้อยกว่าแก๊สที่มีมากที่สุดในอากาศประมาณ 4 เท่า A. แก้สออกซิเจน B. แกสในโตรเจน 3) ถ้าไม่มีองค์ประกอบนี้ในอากาศจะเรียกว่า อากาศแห้ง C. แกสมีเทนไอน้ำ 4) มีส่วนสำคัญในปฏิกิริยาการเผาไหม้ การเกิดสนิม 5) เป็นสารตั้งต้นในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช 6) ชื่อตรงกับคำในภาษากรีกที่มีความหมายว่า "ขี้เกียจ เฉื่อยชา" 7) เคลื่อนที่เข้าและออกจากปอดโดยไม่ทำปฏิกิริยากับสารใด ๆ ในร่างกาย 8) ทำปฏิกิริยาเคมีกับสารอาหารแล้วให้พลังงานที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิต D. แกสอาร์กอน E. แก้สฮีเลียม F. แกสไฮไดรเจน G. แกสคาร์บอนไดออกไซด์ H. แกสโอโซน ตอร่างกาย I. แกสคาร์บอนมอนอกไซด์ 9) เป็นผลิตภัณฑ์จากกระบวนการหายใจของสิ่งมีชีวิตและการเผาไหม้เชื้อเพลิง 10) มีความเฉื่อยช้ำ ไม่ว่องไวต่อการเกิดปฏิกิริยาเช่นเดียวกับแก๊สอาร์กอน ง. ไอน้ำ หน้า 1

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ทำยังไงคะะ ช่วยหน่อยย

U = AH - AH, D - IE, EA U = -404 - (+109) - (+121) - (4502) - (-349) บ = -787 kU/mol พลังงานโครงผลึกของโซเดียมคลอไรด์ = -787 ki/mol (เครื่องหมายลบแสดงว่า คายพลังงาน) นอกจากนั้นเราสามารถหาค่าอื่น ๆ ได้จากสูตรต่อไปนี้ AH, + 0 + E + EA + 0 4 นั่นคือพลังงานที่เปลี่ยนแปลงทั้งหมดเท่ากับผลรวมของพลังงานในแต่ละชั้นตอน แผนภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานในการเกิดลิเทียมฟลูออไรต์ (LF) 1 โมล เป็นดังนี้ Ltg) + Fg) + e Litg) + 1/2F(g) +e 79.5 ี 3 -328 ย 4 520 k. Lig) + 1/2F49) LiKs) + 1/2Fg) 5-1047 ย 161 มี ก. ในชั้น 2 และ 4 เป็นการเปลี่ยนแปลงพลังงานแบบใด และมีชื่อว่าอย่างไร ข. พลังงานแลตทิชของลิเทียมฟลูออไรด์มีค่าเท่าใด - 10 2 ๆ เ) ค. การเกิดสารประกอบลิเทียมฟลูออไรด์เป็นการเปลี่ยนแปลงแบบดูดความร้อนหรือคายความร้อน และมีการ เปลี่ยนแปลงพลังงานของปฏิกิริยาเป็นเท่าใด ภาผม 3าม -614.5 ง. การเกิดสารประกอบลิเทียมฟลูออไรด์ 1.5 โมล มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานเท่าใด สมบัติของสารประกอบไอออนิก 1. มีสถานะเป็นของแข็งที่อุณหภูมิห้อง 2. ไม่นำไฟฟ้าแต่เมื่อหลอมเหลวหรือละลายน้ำจะนำไฟฟ้าได้ เพราะมีไอออนอิสระ 3. มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูง เพราะการหลอมเหลวหรือเดือดต้องทำลายพันธะไอออนิกและพันระไอออนิก -.. .Cl มีจดหลอมเหลว 801C

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ

4. แรงยึดเหี่ยวซึ่งเกิดขึ้นระหว่างโมเลกุลของสารประกอบโคเวเลนต์ได้แก่แรงชนิดใดบ้าง และแรงต่าง ๆ มีลักษณะ อย่างไร 5. พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ข้อใดถูกเขียนเครื่องหมาย / หรือข้อใดผิดเขียนเครื่องหมาย X สาเหตุที่ทำให้จุดเดือดและจุดหลอมเหลวของสารประกอบโคเวเลนซ์ต่ำ เพราะ แรงยึดเหนี่ยวระหว่าง โมเลกุลต่ำ สารประกอบโคเวเลนต์นำไฟฟ้าในสถานะแก๊สเท่านั้น สารประกอบโคเวเลนต์มีทิศทางของพันธะไม่แน่นอน แต่มีรูปร่างโมเลกุลแน่นอน การเกิดปฏิกิริยาของสารประกอบโคเวเลนต์จะเกิดขึ้นอย่างช้า ๆ สารประกอบโคเวเลนต์ส่วนใหญ่ละลายน้ำได้น้อย สารโคเวเลนต์ไม่มีขั้ว จะมีจุดเดือดจุดหลอมเหลวต่ำ ๆ เพราะโมเลกุลยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงลอนดอน อย่างเดียวเท่านั้น โครงสร้างเป็นโครงผลึกร่างตาข่าย เช่น เพชร แกรไฟต์ จะมีจุดเดือดจุดหลอมเหลวสูง

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ เราไม่เข้าใจ

ใบงาน เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ 1. จงขีดเส้นใต้คำที่อยู่ในวงเล็บที่ทำให้ข้อความต่อไปนี้มีความถูกต้อง พันธะโคเวเลนต์เกิดจากการรวมตัวของอะตอมของธาตุต่าง ๆ ระหว่างอโลหะกับ (โลหะ/อโลหะ) โดย เกิดการใช้อิเล็กตรอนร่วมกันเป็นคู่ ๆ เมื่ออะตอมของธาตุใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน จะทำให้อะตอมมีความ (เสถียร/อิสระ) มากขึ้น การที่อะตอมจะมี มีลักษณะดังกล่าวได้ (เวเลนซ์อิเล็กตรอน/อิเล็กตรอน) ต้องมีค่า เท่ากับ 8 เหมือน (ธาตุแฮโลเจน/แก๊สเฉื่อย) โดยการรวมกันเป็นโมเลกุลของธาตุ อะตอมของธาตุจะเคลื่อนที่เข้า มาใกล้กันทำให้เกิด (แรงผลัก/แรงดึงดูด) ระหว่างอิเล็กตรอนของอะตอมหนึ่งกับอิเล็กตรอนของอีกอะตอมหนึ่ง และเกิด (แรงผลัก/แรงดึงดูด) ระหว่างอิเล็กตรอนอะตอมหนึ่งกับโปรตอนในนิวเคลียสของอีกอะตอมหนึ่ง ซึ่ง เมื่ออะตอมทั้งสองเคลื่อนที่เข้ามาใกล้กันมีระยะห่างระหว่างนิวเคลียสมีความเหมาะสมในการเกิดพันธะ พบว่า แรงดึงดูดมีค่าเท่ากับแรงผลักทาให้พลังงานศักย์ของอะตอมมีค่า (ลดลง/เพิ่มขึ้น) 2. พันธะโคเวเลนต์ มีกี่ชนิด อะไรบ้าง ยกตัวอย่างประกอบ 3. จงเขียนสูตรโมเลกุลของสารประกอบโคเวเลนต์ต่อไปนี้ สูตรโมเลกุล ไดไนโตรเจนไตรออกไซด์ ฟอสฟอรัสเพนตะคลอไรด์ คาร์บอนมอนอกไซด์ ไดฟอสฟอรัสเพนตะออกไซด์ ไนโตรเจนไตรคลอไรต์

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ สอบถามผู้รู้ค่ะ

ใบงาน เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ 1. จงขีดเส้นใต้คำที่อยู่ในวงเล็บที่ทำให้ข้อความต่อไปนี้มีความถูกต้อง พันธะโคเวเลนต์เกิดจากการรวมตัวของอะตอมของธาตุต่าง ๆ ระหว่างอโลหะกับ (โลหะ/อโลหะ) โดย เกิดการใช้อิเล็กตรอนร่วมกันเป็นคู่ ๆ เมื่ออะตอมของธาตุใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน จะทำให้อะตอมมีความ (เสถียร/อิสระ) มากขึ้น การที่อะตอมจะมี มีลักษณะดังกล่าวได้ (เวเลนซ์อิเล็กตรอน/อิเล็กตรอน) ต้องมีค่า เท่ากับ 8 เหมือน (ธาตุแฮโลเจน/แก๊สเฉื่อย) โดยการรวมกันเป็นโมเลกุลของธาตุ อะตอมของธาตุจะเคลื่อนที่เข้า มาใกล้กันทำให้เกิด (แรงผลัก/แรงดึงดูด) ระหว่างอิเล็กตรอนของอะตอมหนึ่งกับอิเล็กตรอนของอีกอะตอมหนึ่ง และเกิด (แรงผลัก/แรงดึงดูด) ระหว่างอิเล็กตรอนอะตอมหนึ่งกับโปรตอนในนิวเคลียสของอีกอะตอมหนึ่ง ซึ่ง เมื่ออะตอมทั้งสองเคลื่อนที่เข้ามาใกล้กันมีระยะห่างระหว่างนิวเคลียสมีความเหมาะสมในการเกิดพันธะ พบว่า แรงดึงดูดมีค่าเท่ากับแรงผลักทาให้พลังงานศักย์ของอะตอมมีค่า (ลดลง/เพิ่มขึ้น) 2. พันธะโคเวเลนต์ มีกี่ชนิด อะไรบ้าง ยกตัวอย่างประกอบ 3. จงเขียนสูตรโมเลกุลของสารประกอบโคเวเลนต์ต่อไปนี้ สูตรโมเลกุล ไดไนโตรเจนไตรออกไซด์ ฟอสฟอรัสเพนตะคลอไรด์ คาร์บอนมอนอกไซด์ ไดฟอสฟอรัสเพนตะออกไซด์ ไนโตรเจนไตรคลอไรต์

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยบอกวิธีการคิดหน่อยค่ะไม่เข้าใจ

จงใช้ขอมูลที่กำหนดให้เพื่อเปรียบเทียบขนาดอะตอมของธาตุแต่ละคู่ต่อไปนี้ โดยเติมเครื่องหมาย > หรือ 4 แสดงผลการเปรียบเทียบ ขอ ธาตุ การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก 1) 19K 2, 8, 1 ผลการเปรียบเทียบขนาดอะตอม 20Ca 2, 8, 2 19K 20Ca 2) F 2, 7 1Na 2, 8, 1 11Nอ 3) 12Mg 20Cล 2, 8, 2 20Ca 2, 8, 8, 2 4) 37R6 2, 8, 18, 8, 1 55CS 37R6 55CS 2, 8, 18, 18, 8, 1 5) 20Ca 2, 8, 8, 2 20Ca 38SF 38Sr 2, 8, 18, 8, 2 6) 16S 2, 8, 6 16S 6C 2, 4 7) 2, 5 15P 15P 2, 8, 5 8) 5B 2, 3 sB 6C 6C 2, 4 9) 17CI 2, 8, 7 17CI 163 16S 2, 8, 6 10) 37R6 2, 8, 18, 8, 1 37RD 38Sr 38Sr 2, 8, 18, 8, 2 6. จงเรียงลำดับขนาดอะตอมของธาตุสมมติดังนี้ 3A 15B 16C 19D และ 30E จากขนาดใหญ่ที่สุดไปยังขนาดเล็กที่สุด ตอบ 7. จงเรียงลำดับขนาดอะตอมของธาตุสมมติดังนี้ 7พ 12% 16Y และ 202 จากขนาดเล็กที่สุดไปยังขนาดใหญ่ที่สุด ตอบ 8. ปัจจัยใดบ้างที่มีผลตอขนาดอะตอมของธาตุ ตอบ

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
1/4