ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

สังคมศึกษา มัธยมปลาย

แต่งประโยคตอนที่2ให้หน่อยค่ะ ของม.6ค่ะ

พบก รายชฐาน ประวัติศาสตร์สากล ม.4-6 กิจกรรมที่ 16 สืบค้นเรื่อง การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก จับคู่กับเพื่อน ค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับการค้นพบดินแดนใหม่ของชาติตะวันตกและ (1) จับคู่คำโดยนำตัวอักษรหน้าคำทางขวาไปเติมหน้าเลขข้อหน้าคำทางซ้ายมือ แล้วนำคำ ทำกิจกรรมที่กำหนดให้ แต่ละคู่ไปแต่งประโยคบอกเล่าเรื่องราวทางประวัติศาสตร์คู่ละ 1 ประโยค ตอนที่ 1 จับคู่ 56 1. บาร์โทโลมิว ดีอัส - 2. วัสโก ดา กามา ") DU 3. คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส - 4. สเปน 5. สันตะปาปาอะเล็กซานเดอร์ที่ 6 6. โปรตุเกส 7. อาฟองโซ เดอ อัลบูเกร์เก 8. เฟอร์ดินันด์ มาเจลลัน 9. วิลเลียม เจนซ์ 10. สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบทที่ 1 ตอนที่ 2 แต่งประโยค ก ทวีปออสเตรเลีย ข ทวีปอเมริกา ค กาลิกต ง มะละกา จ สนธิสัญญาทอร์เดซียส 2 แหลมกู๊ดโฮป ช ทวีปอเมริกาใต้ ซ หมู่เกาะฟิลิปปิน ณ กองทัพเรืออาร์มาดา ญ จักรวรรดิทางทะเลในเอเชีย

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ภาษาไทย มัธยมปลาย

ขอเร็วๆนะคะ

• TRUE-H T 21:31 โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) แบบฝึกหัดวิชาภาษาไทย ท ๓๒๑๑๑ เรื่อง โคลนติดล้อ ตอนความนิยมเป็นเสมียน 36% ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ เลขที่ คำสั่ง ๔ เขียนเครื่องหมาย / หน้าข้อความที่ถูกต้อง เขียนเครื่องหมาย X หน้าข้อความที่ไม่ถูกต้อง ความนิยมเป็นเสมียนเป็นสาเหตุให้เกิดการบูชาหนังสือจนเกินเหตุ .Q. ๒. การตั้งโรงเรียนขึ้นทั่วพระราชอาณาจักร ให้โอกาสแก่บรรดาเด็กชายได้ศึกษา กลับเป็นผลที่ทำให้รำคาญ ... รัชกาลที่ 5 ทรงตั้งชื่อเรื่องบทความโคลนติดล้อด้วยโวหารภาพพจน์แบบอุปลักษณ์ ๔. ผู้ที่ไม่เห็นด้วยและโจมตี อัศวพาหุ มีนามปากกาว่า โคนันทวิศาล ๕. เด็กทุกๆคนที่เล่าเรียนจบแล้วจะหวังเป็นเสมียนหรือเลขานุการ 5. ในสมัยนั้นผู้คนมีความนิยมในการทำงานรับราชการมากกว่าการประกอบอาชีพเกษตรกรรม ๗. คนที่ทำงานล้วนมีเกียรติเท่าเทียมกันทั้งนั้น ๔. เสมียน หมายถึง เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวกับหนังสือ ๔. คำว่า ความนิยมเป็นเสมียน หมายถึง ค่านิยมของการรับราชการ ๑๐. การแต่งงานอย่างละม่อมที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพูดถึงคือการแต่งงานแบบชั่วคราว ๑๑. “ชีวิตที่ลงเอยอย่างมืด” เปรียบเป็นชีวิตที่จมอยู่กับปัญหา ๑๒. “กุ๊กช้อป” หมายถึง ภัตตาคารที่มีพ่อครัวทำอาหารเวียดนาม ๑๓. เด็กที่เรียนจบมาแล้วไม่อยากกลับไปทำงานในภูมิลำเนาเดิมของตนเอง เพราะอับอายต่อผู้พบเห็น ๑๔. พวกเสมียนที่ถูกคัดออกไม่อยากกลับไปเป็นชาวนาในภูมิลำเนาเดิมก็เพราะอับอายเป็นประการสำคัญ ๑๕. รัชกาลที่ 5 ทรงแนวคิดว่า การนิยมความเป็นเสมียนนั้นเป็นความผิดของพวกหนุ่มๆ ที่เรียนจบมาเท่านั้น ๑๖. ผู้แต่งทรงใช้พระนามแฝงว่า รามจิตติ ในการทรงพระราชนิพนธ์เรื่อง “โคลนติดล้อ” ๑๗. การใช้ภาษาในการดำเนินเรื่อง พระองค์ท่านทรงใช้วิธีกระตุ้นความคิดของผู้อ่านด้วยการใช้ประโยคคำถาม อยู่เสมอๆ ๑๘. รัชกาลที่ 5 ทรงพระราชนิพนธ์เรื่อง “โคลนติดล้อ” เป็นสำนวนภาษาอังกฤษ ชื่อ Clogs on Our Wheele ๑๙. ลักษณะงานเขียน เรื่องโคลนติดล้อเป็นร้อยแก้วในทำนองของบทความ ๒๐. อาชีพที่อาจทำประโยชน์ให้กับบ้านเมืองได้มาก คือ ข้าราชการ ***

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ภาษาไทย มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่าาา

กิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ พิจารณาว่ากลุ่มประโยคต่อไปนี้มีการเชื่อม การซ้ำ การละ หรือการแทน ๑. เลิศลักษณาเป็นเด็กสาวช่างฝัน เธอเคยคาดหวังไว้เสมอว่า เธอจะพบกับหนุ่ม รูปหล่อ มีความรู้สูงและฐานะร่ำรวย ชายหนุ่มผู้นั้นจะต้องรักเธออย่างจริงใจ เธอเคยฝัน ไว้ด้วยว่าชีวิตคู่ของเธอจะมีความสุขสดชื่นเหมือนกับนิยายที่จบลงด้วยดี ๒. คนส่วนใหญ่ละเลยอาหารมื้อเช้าซึ่งเป็นอาหารมื้อสำคัญ สาเหตุอาจเป็นเพราะ ต้องออกจากบ้านแต่เช้าเพราะการจราจรติดขัดจนไม่มีเวลารับประทาน บางคนไม่หิว เพราะยังเช้าเกินไป บางคนเอาเวลานอนต่อดีกว่าลุกขึ้นมารับประทานอาหารเช้า บางคน ก็กลัวว่าถ้ารับประทานอาหารเช้าแล้วจะอ้วน ๓. มีวรรณคดีไทยหลายเล่มที่นำเรื่องราวมาจากวรรณคดีไทยรุ่นก่อนที่แต่งไว้แล้ว มาผูกเป็นเรื่องใหม่ขึ้นอีก โดยดัดแปลงเนื้อความทั้งหมดบ้าง ตัดเพียงบางตอนบ้าง บางที ก็คงเรื่องไว้ทั้งหมด เพียงแต่ใช้แบบแผนคำประพันธ์ให้แปลกออกไปเท่านั้น ๔. ชายหนุ่มเคาะประตูเบาๆ มีเสียงเดินทุกๆ มาที่ประตู เสียงถอดกลอนแกร๊ก แล้วประตูก็เปิดออกช้าๆ หญิงสาวที่ยืนอยู่หน้าประตูมองชายหนุ่มอย่างสงสัย ชายหนุ่ม รีบยื่นซองจดหมายส่งให้ 4. ลอกลายปักตามขนาดที่ให้มาลงบนผ้าให้มีลักษณะตามแบบ ซึ่งสะดึงบนผ้า ช่วงลายปักให้ตึง ลงมือปักด้วยวิธีปักรังดุม ใช้กรรไกรฉลุผ้าส่วนที่ไม่ต้องการออก

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ภาษาไทย มัธยมปลาย

ทำไปเเล้วบางข้อช่วยดูให้หน่อยได้ไหมคะว่าทำถูกหรือป่าว เเต่ว่าเหลือข้อ 20 21 27 28 สี่ข้อนี้ช่วยด้วยได้ไหมคะ 🙏🙏🙏

แบบทดสอบวิชาภาษาไทย ต๑๑๐๒ คำสั่ง ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย * ทับคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว ๑. หน่วยเสียงคืออะไร (ก.) เสียงที่คนในกลุ่มนั้น ๆ ออกได้ทั่วกัน ค. เสียงที่คนออกเสียงได้และมีความหมายในภาษา ๒. หน่วยเสียงเมื่อรวมกันหลายหน่วยเสียงจะเป็นอะไร ก.) หน่วยคํา ก. ตา กับ ป่า ๕. หน่วยเสียงสระมีลักษณะพิเศษอย่างไร ข. หน่วยวลี ๓. ข้อใดแสดงความแตกต่างระหว่างเสียง // กับเสียง // ก. แก กับ แม่ ข. กับ กับ มัด ๔. ข้อใดแสดงความแตกต่างระหว่างเสียงวรรณยุกต์สามัญกับเสียงวรรณยุกต์เอก ข. จำ กับ ก. เส้นเสียงจะแยกจากกัน ค. กระแสลมจะถูกกักในช่องปาก 5. หน่วยเสียงในภาษาไทยมีทั้งหมดกี่หน่วยเสียง ก. ๓ หน่วยเสียง ข. 4 หน่วยเสียง ๗. หน่วยเสียงสระในตำราหลักภาษาไทยเก่าเรียกว่าอย่างไร ก. เสียงก ข.) เสียงแท้ 4. คำใดออกเสียงหน่วยเสียงสระ “อะ” ทุกพยางค์ ก. บวร ข. นคร ๔. คำว่า “ฤทธิ์” ออกเสียงหน่วยเสียงสระอะไร ก. อะ ๑๐. คำว่า “คน” ออกเสียงหน่วยเสียงสระอะไร ก. อะ ข. ออ ๑๑. คำว่า “คณะ” พยางค์ “ค” ใช้สระประเภทใด ก. สระลดรูป ข. สระลบรูป ๑๒. คำว่า “ได้” ออกเสียงหน่วยเสียงสระอะไร ข.) อา ๑๓. คำใดออกเสียงหน่วยเสียงสระ “อะ” ทุกคำ ก. อะ ข. คำที่มีความหมายที่รู้กันในภาษานั้น ๆ ง. เสียงย่อยที่สุดที่สามารถแยกความหมายของคำได้ ก. เขา พญา ไว้ ๑๔. คำในข้อใดมีคำที่ออกเสียงสระ ก. พฤต เรื่อง หน่วยเสียง และเสียงสระในภาษาไทย ข. วจนะ ทำ คฤห “อิ ข. ตฤณ ค. หน่วยประโยค ค. กัน กับ มัน ค.) ปา กับ ป่า ค.) ๕ หน่วยเสียง ค. เสียงแปร ขอวัยวะทำเสียงไม่กระทบกัน ง. ปอดจะดันกระแสลมออกมาอย่างแรง (ค.) สังสรรค์ ค. อี ค. โอะ ค. สระคงรูป ค. ไอ ค. กรรม ฉัน ใกล้ ง. หน่วยข้อความ ค. พฤกษ์ ง.) กีด กับ มีด ง. มา กับ หมา ง. 5 หน่วยเสียง ง. เสียงดนตรี ง. คนธรรพ์ ง. ไม่มีเสียงสระ ง. สระเปลี่ยนรูป ง. อำ ง. ขำ ใจ ธรรม ง. หฤโหด

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ภาษาไทย มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยนะคะหาได้บางข้อเองค่ะ🙏🙏🙏

ตอนที่ ๒ ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย X ทับตัวเลือกคำตอบที่เห็นว่าถูกต้องมากที่สุด ๑. ข้อใดกล่าวผิด ก. ภาษา หมายถึงคำพูดหรือถ้อยคำ ค. ภาษาสามารถจำแนกได้ ๒ ประเภท ๒. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะที่เป็นธรรมชาติของภาษา ก. ภาษาใช้เสียงสื่อความหมาย ข. หน่วยในภาษาประกอบกันเป็นหน่วยที่ใหญ่ขึ้นได้ ค. ภาษาเป็นวัฒนธรรมที่คงที่ ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ง. ภาษาต่าง ๆ มีลักษณะที่คล้ายคลึงกัน ๓. ข้อใดเรียงหน่วยในภาษาได้ถูกต้อง - เสียง พยางค์ คำ ประโยค ค. เรื่อง คำ วลี เสียง ๔. ข้อใดเป็นประโยค ภาษาที่เป็นถ้อยคำ เรียกว่า วาจาภาษา ข. ง. กล่าวผิดทุกข้อ ก. ฉันและน้อง ๕. ข้อใดเป็นการกร่อนเสียง ก. อย่างนี้ – ยังงี้ X ฉันนั้น – ฉะนั้น ค. อุโบสถ – โบสถ์ 5. คำว่า “ ผักเฉด” ออกเสียงเป็น “ ผักกระเฉด ” เป็นการเปลี่ยนแปลงของภาษาแบบใด 4 ค. การกลายเสียง ข. เสียง วลี คำ ประโยค ง. ประโยค เรื่อง เสียง พยางค์ ข. ฉันชอบอาหาร ค. อาหารไทย 4. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของภาษา ก. เปลี่ยนในเรื่องวิธีเขียน ค. เปลี่ยนในเรื่องความหมาย ๔. ข้อใดคือลักษณะที่ภาษาไทยแตกต่างจากภาษาอื่น ก. การกลมกลืนเสียง ข. การตัดเสียง ๗. คำว่า “ ตะไกร” ออกเสียงเป็น “ กะไต” เป็นการเปลี่ยนแปลงของภาษาแบบใด ก. การสลับเสียง ข. การตัดเสียง ค. การกลายเสียง ก. มีชนิดของคำคล้ายกัน ค. สามารถสร้างคำใหม่จากคำศัพท์เดิม ๑๐. ข้อใดคือส่วนประกอบที่สำคัญของภาษา ก. สัญลักษณ์ คำ ประโยค และความหมาย ค. วรรณยุกต์ เอก โท ตรี และจัตวา ง. รถไฟฟ้า ง. สะพาน – ตะพาน ง. การเพิ่มเสียง ง. การเพิ่มเสียง ข. เปลี่ยนในเรื่องวรรณยุกต์ ง. เปลี่ยนในเรื่องการออกเสียง ข. ขยายประโยคให้ยาวออกไปเรื่อย ๆ ง. มีรูปวรรณยุกต์และมีการผันวรรณยุกต์ที่ชัดเจน ข. สำนวนโวหาร สุภาษิต คำพังเพย ง. ถูกทุกข้อ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
คณิตศาสตร์ มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ

1.2) 1.3) 1) ให้นักเรียนเขียนข้อความต่อไปนี้เป็นประโยคสัญลักษณ์ 1.1) 2 เป็นจํานวนเต็ม หรือ 2 ไม่ใช่จํานวนเต็ม 2 เป็นจํานวนเต็ม และ 2 เป็นจํานวนตรรกยะ ถ้า 2 หาร 10 ลงตัว แล้ว 10 เป็นจำนวนคู่ ถ้า 2 ไม่ใช่จํานวนตรรกยะ แล้ว 2 ไม่ใช่จํานวนเต็ม 1.4) 1.5) 2 หาร 10 ลงตัวก็ต่อเมื่อ 10 เป็นจำนวนคู่ TT เป็นจำนวนตรรกยะ หรือ จำนวนอตรรกยะ 12 เป็นจำนวนเฉพาะ และจำนวนคู่ 2 เป็นจำนวนเฉพาะ และ 12 ไม่ใช่จำนวนเฉพาะ 1.9) ถ้า 2 เป็นจำนวนคู่ แล้ว 2 ไม่ใช่จำนวน 1.10) 2 เป็นจำนวนคู่ และเป็นจำนวนเฉพาะด้วย 1.6) 1.7) 1.8) นางสา แบบฝึกหัดที่ 2 การเชื่อมประพจน์ ม.4/4 nov... PV ~ ตอบ P.Ag P- P ตอบ ตอบ ตอบ ตอบ ตอบ ตอบ ตอบ ตอบ ***** ตอบ ***

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/13