ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

ชีววิทยา มัธยมปลาย

#ช่วยหน่อยค่ะต้องส่งวันพฤหัสค่ะ

09:09 น. ตอนที่ 1 แบบปรนัยจํานวน 30 ข้อ คำสั่ง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว 1. สารสังเคราะห์ธรรมชาติคือสารใด ผลการเรียนรู้ ( ข้อ 1) ข้อ 1) ก. ผงซักฟอก ข. น้ำตาลกลูโคส ค. ถุงพลาสติก ง. ไฟเบอร์กลาส 2. ข้อใดเป็นกระบวนการสังเคราะห์ (ผลการเรียนรู้ ข้อ 1) ก. การทําน้ำแข็ง ข. การทําคอนกรีต ค. การทําขี้ผึ้ง ง. การแยกน้ำด้วยไฟฟ้า 3. ข้อใดคือความหมายที่ถูกต้องของกระบวนการ สังเคราะห์ (ผลการเรียนรู้ ข้อ 1) ก. กระบวนการสร้างสิ่งประดิษฐ์ สิ่งใหม่ๆ ทางวิทยาศาสตร์ ข. กระบวนการนําสารต่างชนิดมาทํา ปฏิกิริยาเคมีกัน ค. กระบวนการสร้างสารประกอบใหม่ โดยวิธีทางเคมี ง. กระบวนการแยกสารประกอบออก เป็นธาตุอิสระ 4. สิ่งต่อไปนี้ข้อใดเป็นสารสังเคราะห์ธรรมชาติทั้งหมด (ผลการเรียนรู้ ข้อ 1) ก. กาวอีพอกซี กาวลาเท็กซ์ ครึ่ง ข. เส้นใยไหม ขี้ผึ้ง น้ำยางพารา ค. ขี้ไต้ ครั่ง ไนลอน ง. สบู่ แผ่นพีวีซี ผงซักฟอก = 5. สารสังเคราะห์ใดเป็นสารสังเคราะห์วิทยาศาสตร์ (ผลการเรียนรู้ ข้อ 1) ก. ยางพารา ข. นิโคติน ค. เฮโรอีน ง. คาเฟอีน l 6. เสื้อที่ใช้ในการดับเพลิงควรทํามาจากเส้นใยชนิดใด (ผลการเรียนรู้ ข้อ 1) ก. ใยหิน ข. แก้ว ค. ไนลอน ง. เรยอง 7. มนุษย์เลียนแบบการสังเคราะห์สารธรรมชาติโดยวิธีใด (ผลการเรียนรู้ข้อ 1) 1/1 × ก. ย่อยโมเลกุลใหญ่เป็นโมเลกุลเล็กแล้วนำเอา โมเลกุลเหล่านั้นมารวมเป็นโมเลกุลใหญ่ ข. เริ่มต้นจากวัตถุดิบที่มีโมเลกุลเล็กสังเคราะห์ ให้เป็นโมเลกุลใหญ่ขึ้น ค. ใช้น้ำเป็นองค์ประกอบ ง. ใช้วัตถุดิบเป็นแก๊ส 8. สารสังเคราะห์ธรรมชาติที่เกิดขึ้นจากกระบวนการ สังเคราะห์แสง คือสารใด (ผลการเรียนรู้ ข้อ 1) ก. แป้ง ข. น้ำตาลกลูโคส ค. เซลลูโลส ง. น้ำตาลทราย 9. สารที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ เราเรียกว่าอะไร (ผลการเรียนรู้ ข้อ 2) ก. อลิเมอร์ ข. โฮโมเมอร์ ค. พอลิเมอร์ ง. มอนอเมอร์

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย

ใครทำได้

แบบเลือกตอบ ( 16 คะแนน ) มสารละลาย NaCl เข้มข้น 0.01 mol/ dm 1 50 กรัม ได้มากที่สุดที่ dm , Cl=35.5) dm³ 0.5 dm³ ละลายชนิดหนึ่งเข้มข้น 1 moldm m เมื่อเติมน้ำ 300 cm มเข้มข้น mol/ dm 0.06 mol/dm³ 1. 0.4 mol/dm³ ก.0.0025 กรัม ค. 0.4 กรัม U. 85.5 dm³ 4. 100 dm³ จะได้สารละลาย องการเตรียมสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.1 al/dm จำนวน 100 cm จะต้องใช้ NaOH กรัม Na-23, 0-16.H=1) /mol/kg) . 0.1 mol/dm³ 4. 0.67 mol/dm³ n. -4.3°C M. -5.3°C 4.สารละลายชนิดหนึ่ง 100 cm เข้มข้น 2 moldm ถ้าต้องการทำให้มีความเข้มข้นเป็น 0.2 moldm จะต้องเติมน้ำให้มีปริมาตรเป็นเท่าใด n. 2,000 cm³ n. 1,000 cm³ ข. 0.04 กรัม ง. 4 กรัม 5.สารละลายที่มีน้ำมันระกำ 30 กรัม ละลายในเบนซิน 200 กรัม จะมีจุดเยือกแข็งเท่าไร ถ้าน้ำมันระกำมีมวลโมเลกุล 152 (เบนซินมีจุดเยือกแข็ง5.50°C, K เท่ากับ 4.90 t. 2,500 cm³ 4. 100 cm³ 9. 4.3°C 4.0.7 °C 6. จงหาจุดเดือดของสารละลายกลูโคส (Call C 0.2 m (กำหนด ค่า 4 ของน้ำเท่ากับ 0.5 cm. จุดเดือด : 100 °C n. 101.0 ℃ 1.00 °C 4.100.1 °C 7. เมื่อเติมกลูโคส (CH12O) จำนวนหนึ่งในน้ำ จุดเดี และจุดหลอมเหลวของสารละลายเมื่อเปรียบเทียบกั จะเป็นอย่างไร ก. เพิ่มขึ้นและเพิ่มขึ้น ข. ลดลงและลดลง ค. เพิ่มขึ้นและลดลง ง. ลดลงและเพิ่มขึ้น 8. สมการที่ดุลแล้ว จะมีค่า a, b, cd และ e เท่าใด aNO (g) + bCHd(g) cHCN (g) + dH₂O(g) + eH₂ n. 2,2,3,2,1 P. 1,2,2,2,1 9. สมการที่คุณแล้ว จะมีค่า 4,5,6 และ 4 เท่าใด + bo₂ →CCO₂ + H₂O 1.2.2.1 4. 2.4.4,6 aC₂H₂OH n. 2.2.3.2 n. 1,3,2,3 1.2.2.2.2.1 4.2,1,3,2,1 10. สมการที่คุณแล้ว จะมีค่า 35,ะ 4 เท่าใด aCu (s) + bNO₂ (g) -cCuO (s) + N₂ (g) n. 2,7.4.6 n. 2.2.2.4 35 (s) + 2760 @0 จากปฏิกิริยา (ใช้ตอบคำถามข้อ 11-12) 2H₂5 (g) + 5O₂ (g) กำหนดมวลอะตอม 552, H = ID. 16 11. จากสมการเคมี ปริมาณสัมพันธ์ข้อใดไม่ถูกต้อง n. H.SI lue SO, 64 nu MS 3x32 n 12 จะเกิด 5 กรัม เมื่อใช้ 30 32 กรัม 34

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

😢🤲🏻

3 แบบฝึกหัดที่ 3.11 เรื่องแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลและสมบัติของสารโคเวเลนต์ 1. จงเรียงลำดับแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล Bra, S8, O2 และแกรไฟต์ ดินสอ (S) 2. จงเรียงลำดับความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอของ C10H22, NHz, H2O, และ O2 จากมากไปน้อย 3. จงเรียงลำดับจุดหลอดมเหลวของสารต่อไปนี้ SiO2, HF, C1022 CH OH จากมากไปน้อย 4. CC, มีสถานะเป็นของเหลวเมื่อนำไปละลายจะละลายในตัวทำละลายใดได้ที่สุด H₂O CH3OH CH3COCH3 C6H₁4 5. จงเรียงลำดับจุดเดือดของสารต่อไปนี้ HF HI HB HCL 6. จงระบุแรงยึดเหนี่ยวระหว่าโมเลกุลโคเวเลนต์ สูตร CO₂ C₂H SiO₂ SO3 NH3 Og CH3 COOH HF H₂O C3H8 CH3OH เพชร แกรไฟต์ ชนิดแรงยึดเหนี่ยวระหว่าโมเลกุลโคเวเลนต์ แรงลอนดอน แรงดึงดูดระหว่างขั้ว โครงรางตาข่าย พันธะไฮโดรเจน ✓ ✓ ✓ ✓

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ทำยังไงคะะ ช่วยหน่อยย

U = AH - AH, D - IE, EA U = -404 - (+109) - (+121) - (4502) - (-349) บ = -787 kU/mol พลังงานโครงผลึกของโซเดียมคลอไรด์ = -787 ki/mol (เครื่องหมายลบแสดงว่า คายพลังงาน) นอกจากนั้นเราสามารถหาค่าอื่น ๆ ได้จากสูตรต่อไปนี้ AH, + 0 + E + EA + 0 4 นั่นคือพลังงานที่เปลี่ยนแปลงทั้งหมดเท่ากับผลรวมของพลังงานในแต่ละชั้นตอน แผนภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานในการเกิดลิเทียมฟลูออไรต์ (LF) 1 โมล เป็นดังนี้ Ltg) + Fg) + e Litg) + 1/2F(g) +e 79.5 ี 3 -328 ย 4 520 k. Lig) + 1/2F49) LiKs) + 1/2Fg) 5-1047 ย 161 มี ก. ในชั้น 2 และ 4 เป็นการเปลี่ยนแปลงพลังงานแบบใด และมีชื่อว่าอย่างไร ข. พลังงานแลตทิชของลิเทียมฟลูออไรด์มีค่าเท่าใด - 10 2 ๆ เ) ค. การเกิดสารประกอบลิเทียมฟลูออไรด์เป็นการเปลี่ยนแปลงแบบดูดความร้อนหรือคายความร้อน และมีการ เปลี่ยนแปลงพลังงานของปฏิกิริยาเป็นเท่าใด ภาผม 3าม -614.5 ง. การเกิดสารประกอบลิเทียมฟลูออไรด์ 1.5 โมล มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานเท่าใด สมบัติของสารประกอบไอออนิก 1. มีสถานะเป็นของแข็งที่อุณหภูมิห้อง 2. ไม่นำไฟฟ้าแต่เมื่อหลอมเหลวหรือละลายน้ำจะนำไฟฟ้าได้ เพราะมีไอออนอิสระ 3. มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูง เพราะการหลอมเหลวหรือเดือดต้องทำลายพันธะไอออนิกและพันระไอออนิก -.. .Cl มีจดหลอมเหลว 801C

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ทำยังไงคะ ช่วยหน่อยย

ก. ในขั้น 2 และ 4 เป็นการเปลี่ยนแปลงพลังงานแบบใด และมีชื่อว่าอย่างไร 4 ภาผมงามEA ข. พลังงานแลตทิชของลิเทียมฟลูออไรด์มีค่าเท่าใด - 10 2 ๆ เ) การเกิดสารประกอบลิเทียมฟลูออไรด์เป็นการเปลี่ยนแปลงแบบดูดความร้อนหรือคายความร้อน และมีการ เปลี่ยนแปลงพลังงานของปฏิกิริยาเป็นเท่าใด -เ14.5 ง. การเกิดสารประกอบลิเทียมฟลูออไรด์ 1.5 โมล มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานเท่าใด สมบัติของสารประกอบไอออนิก 1. มีสถานะเป็นของแข็งที่อุณหภูมิห้อง 2. ไม่นำไฟฟ้าแต่เมือหลอมเหลวหรือละลายน้ำจะนำไฟฟ้าได้ เพราะมีไอออนอิสระ 3. มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูง เพราะการหลอมเหลวหรือเดือดต้องทำลายพันธะไอออนิกและพันธะไอออนิก เผ่น ปา บีอดหลอมเหลว 801C

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ

4. แรงยึดเหี่ยวซึ่งเกิดขึ้นระหว่างโมเลกุลของสารประกอบโคเวเลนต์ได้แก่แรงชนิดใดบ้าง และแรงต่าง ๆ มีลักษณะ อย่างไร 5. พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ข้อใดถูกเขียนเครื่องหมาย / หรือข้อใดผิดเขียนเครื่องหมาย X สาเหตุที่ทำให้จุดเดือดและจุดหลอมเหลวของสารประกอบโคเวเลนซ์ต่ำ เพราะ แรงยึดเหนี่ยวระหว่าง โมเลกุลต่ำ สารประกอบโคเวเลนต์นำไฟฟ้าในสถานะแก๊สเท่านั้น สารประกอบโคเวเลนต์มีทิศทางของพันธะไม่แน่นอน แต่มีรูปร่างโมเลกุลแน่นอน การเกิดปฏิกิริยาของสารประกอบโคเวเลนต์จะเกิดขึ้นอย่างช้า ๆ สารประกอบโคเวเลนต์ส่วนใหญ่ละลายน้ำได้น้อย สารโคเวเลนต์ไม่มีขั้ว จะมีจุดเดือดจุดหลอมเหลวต่ำ ๆ เพราะโมเลกุลยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงลอนดอน อย่างเดียวเท่านั้น โครงสร้างเป็นโครงผลึกร่างตาข่าย เช่น เพชร แกรไฟต์ จะมีจุดเดือดจุดหลอมเหลวสูง

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ เราไม่เข้าใจ

ใบงาน เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ 1. จงขีดเส้นใต้คำที่อยู่ในวงเล็บที่ทำให้ข้อความต่อไปนี้มีความถูกต้อง พันธะโคเวเลนต์เกิดจากการรวมตัวของอะตอมของธาตุต่าง ๆ ระหว่างอโลหะกับ (โลหะ/อโลหะ) โดย เกิดการใช้อิเล็กตรอนร่วมกันเป็นคู่ ๆ เมื่ออะตอมของธาตุใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน จะทำให้อะตอมมีความ (เสถียร/อิสระ) มากขึ้น การที่อะตอมจะมี มีลักษณะดังกล่าวได้ (เวเลนซ์อิเล็กตรอน/อิเล็กตรอน) ต้องมีค่า เท่ากับ 8 เหมือน (ธาตุแฮโลเจน/แก๊สเฉื่อย) โดยการรวมกันเป็นโมเลกุลของธาตุ อะตอมของธาตุจะเคลื่อนที่เข้า มาใกล้กันทำให้เกิด (แรงผลัก/แรงดึงดูด) ระหว่างอิเล็กตรอนของอะตอมหนึ่งกับอิเล็กตรอนของอีกอะตอมหนึ่ง และเกิด (แรงผลัก/แรงดึงดูด) ระหว่างอิเล็กตรอนอะตอมหนึ่งกับโปรตอนในนิวเคลียสของอีกอะตอมหนึ่ง ซึ่ง เมื่ออะตอมทั้งสองเคลื่อนที่เข้ามาใกล้กันมีระยะห่างระหว่างนิวเคลียสมีความเหมาะสมในการเกิดพันธะ พบว่า แรงดึงดูดมีค่าเท่ากับแรงผลักทาให้พลังงานศักย์ของอะตอมมีค่า (ลดลง/เพิ่มขึ้น) 2. พันธะโคเวเลนต์ มีกี่ชนิด อะไรบ้าง ยกตัวอย่างประกอบ 3. จงเขียนสูตรโมเลกุลของสารประกอบโคเวเลนต์ต่อไปนี้ สูตรโมเลกุล ไดไนโตรเจนไตรออกไซด์ ฟอสฟอรัสเพนตะคลอไรด์ คาร์บอนมอนอกไซด์ ไดฟอสฟอรัสเพนตะออกไซด์ ไนโตรเจนไตรคลอไรต์

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ สอบถามผู้รู้ค่ะ

ใบงาน เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ 1. จงขีดเส้นใต้คำที่อยู่ในวงเล็บที่ทำให้ข้อความต่อไปนี้มีความถูกต้อง พันธะโคเวเลนต์เกิดจากการรวมตัวของอะตอมของธาตุต่าง ๆ ระหว่างอโลหะกับ (โลหะ/อโลหะ) โดย เกิดการใช้อิเล็กตรอนร่วมกันเป็นคู่ ๆ เมื่ออะตอมของธาตุใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน จะทำให้อะตอมมีความ (เสถียร/อิสระ) มากขึ้น การที่อะตอมจะมี มีลักษณะดังกล่าวได้ (เวเลนซ์อิเล็กตรอน/อิเล็กตรอน) ต้องมีค่า เท่ากับ 8 เหมือน (ธาตุแฮโลเจน/แก๊สเฉื่อย) โดยการรวมกันเป็นโมเลกุลของธาตุ อะตอมของธาตุจะเคลื่อนที่เข้า มาใกล้กันทำให้เกิด (แรงผลัก/แรงดึงดูด) ระหว่างอิเล็กตรอนของอะตอมหนึ่งกับอิเล็กตรอนของอีกอะตอมหนึ่ง และเกิด (แรงผลัก/แรงดึงดูด) ระหว่างอิเล็กตรอนอะตอมหนึ่งกับโปรตอนในนิวเคลียสของอีกอะตอมหนึ่ง ซึ่ง เมื่ออะตอมทั้งสองเคลื่อนที่เข้ามาใกล้กันมีระยะห่างระหว่างนิวเคลียสมีความเหมาะสมในการเกิดพันธะ พบว่า แรงดึงดูดมีค่าเท่ากับแรงผลักทาให้พลังงานศักย์ของอะตอมมีค่า (ลดลง/เพิ่มขึ้น) 2. พันธะโคเวเลนต์ มีกี่ชนิด อะไรบ้าง ยกตัวอย่างประกอบ 3. จงเขียนสูตรโมเลกุลของสารประกอบโคเวเลนต์ต่อไปนี้ สูตรโมเลกุล ไดไนโตรเจนไตรออกไซด์ ฟอสฟอรัสเพนตะคลอไรด์ คาร์บอนมอนอกไซด์ ไดฟอสฟอรัสเพนตะออกไซด์ ไนโตรเจนไตรคลอไรต์

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
1/4