ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

ภาษาไทย มัธยมปลาย

เขียนไงคะ

แบบทดสอบท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ คำชี้แจง : ตอนที่ ๑ จงกากบาท (X) ข้อที่ถูกที่สุด ๑. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับจดหมายส่วนตัว ก. ใช้ภาษาเรียบง่ายไม่เคร่งครัด ข. ไม่จำเป็นต้องมีองค์ประกอบของการเขียนครบถ้วน ค. กล่าวถามถึงเรื่องทุกข์สุขของกันและกัน ง. เขียนถึงญาติ เพื่อนสนิท และบุคคลคุ้นเคย ๒. ข้อใดไม่ใช่การเขียนจดหมายกิจธุระ ก. จดหมายลากิจ ข. จดหมายเชิญวิทยากร ค. จดหมายติดต่อขอความร่วมมือ ง. จดหมายสมัครงาน ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการเขียนจดหมายกิจธุระ ๓. ก. ไม่ต้องเขียนวัน เดือน ปี เหมือนจดหมายทั่วไป ข. ไม่ต้องแจ้งชื่อเรื่องของจดหมายก็ได้ ค. ไม่ต้องใช้คำลงท้ายตามสถานภาพของผู้รับ ง. ไม่ต้องใช้ภาษาพิธีการทุกครั้ง ๔. ข้อใดใช้คำลงท้ายได้ถูกต้อง ก. "ด้วยความเคารพอย่างสูง" ใช้กับบุคคลทั่วไป ข. "ด้วยความเคารพ" ใช้กับพระภิกษุ ค. "ขอแสดงความนับถือ" ใช้กับบุคคลทั่วไป ง. "ด้วยความรักและเคารพ" ใช้กับอาจารย์ ๕. จดหมายส่วนตัวและจดหมายกิจธุระแตกต่างกันในส่วนใด ก. รูปแบบ ข. ผู้รับ ค. เนื้อความ ง. ซองจดหมาย

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ภาษาไทย มัธยมปลาย

ภาษาไทย ม.4ช่วยหาคำตอบหน่อยค่ะ🙏

ใบงานวิชาภาษาไทย ชั้น ม.๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย แบบทดสอบหน่วยที่ ๑ คำชี้แจง : จงทำเครื่องหมาย X ทับตัวอักษร ก ข ค หรือ ง ข้อที่ถูกต้องที่สุด เรื่อง การพูดแนะนำตนเอง ข้อใดเป็นขั้นตอน การพูดแนะนำตัวเอง ก. บอกชื่อ ค. ตุ่มพูดวกวนไปมาจนเพื่อนไม่อยากฟัง แต่ก็พูดไป เรื่อยโดยไม่สนใจผู้ฟังเรียน ง. ข้าวฟ่างมีสีหน้าไม่พอใจเมื่อเพื่อนยกมีอถามในขณะที่ อภิปรายหน้าชั้น ผลงานดีเด่น สกุล ข. บอกชื่อ ค. บอกชื่อ สกุล ประวัติส่วนตัว สถานที่ทำงาน สกุล ง. บอกชื่อ สกุล ความสามารถพิเศษ เรื่อง การแปลความ ตีความ และขยายความ ๖. คำว่า "ฝน" ในข้อใดมีความหมายต่างจากข้ออื่น ก. ในวันที่ฝนตก ไหลลงที่หน้าต่าง เธอคิดถึงฉันบ้าง ๒. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของการฝึกพูด ก. ทำให้เป็นผู้รู้รอบ ข. รู้จักการใช้น้ำเสียง ค. พูดได้เป็นธรรมชาติ ง. ฝึกการเรียบเรียงความคิด ไหมหนอคนดี ข. ฟ้าเริ่มมีดครื้มในความคิด เสียงฟ้าร้องดังในทหัว และฝนก็ตกลงมาในใจผม ค. บางทีฝนคงหลั่งน้ำตาให้ฉันจริง ๆ ก็ได้ ในวันที่ไม่ มีใคร เห็นเพียงแต่สายฝนนี่แหละเป็นเพื่อน ง. บนเตียงหลังใหญ่ ผ้านวมผืนหนากับเธอข้าง ๆ กาย พร้อมเสียงดนตรีที่บรรเลงจากสายฝนนอกหน้าต่าง ใช้ตัวเลือกที่กำหนดให้ ตอบคำถามข้อ ๓ ๑. ซักซ้อมการพูดและการใช้ภาษา ๒. กำหนดขอบข่ายของเรื่องที่จะพูด กำหนดเรื่องและจุดมุ่งหมายที่จะพูด ๔. เตรียมเนื้อหาและลำดับเรื่องที่จะพูด ๓. การเตรียมการพูดที่ดีควรมีลำดับอย่างไร ๓. ๗. ใครจะเชื่อล่ะ ว่าวันหนึ่งหมาข้างถนนจน ๆ แบบผม จะเอื้อมเด็ดดอกฟ้าได้จริง ๆ " ข้อความนี้ มีความหมาย ใกล้เคียงข้อใด ก. ๑๒ ๓ ๔ ก. ข้าได้ข่าวมาว่าอีเย็น บ่าวเรือนท่านเจ้าคุณถูกเฉด ข. ๑ ๓ ๒ ๔ หัวออกจากเรือนแล้วนะ ค. ๓ ๒ ๔๑ ข. พ่อพลายงามกำลังจะแต่งงานกับแม่ศรีมาลา สมกันอย่างกับกิ่งทองใบหยก ค. นั่นมันนางเรณู สาวตาคลีนี่นา ฉันได้ข่าวแว่วๆ ว่า เจ้าหล่อนพยายามจะจับลูกชายคนโตของแม่ย้อย ง. เพราะความดีของอารยาจริง ๆ เลยนะ ที่ทำให้ คุณย่าสมหญิงยอมรับเป็นหลานสะใภ้ ทั้งที่เธอเป็นแค่ เด็กกำพร้าคนหนึ่งเท่านั้น ง. ๓ ๑ ๒ ๔ ๔. ใครปฏิบัติตนได้เหมาะสมที่สุดก่อนขึ้นพูดแนะนำ ตนเอง ก. นทีหาตัวอย่างเพื่อใช้ประกอบเนื้อหา ข. กันแก้ไขคำที่สะกดผิดในบทพูดของตน ค. ธิดาไม่อ่านเนื้อหาแต่จดบทพูดไว้ดูขณะพูด ง. มายทำสมาธิและตรวจความเรียบร้อยของเครื่อง ๔. ใครสามารถตีความเรื่องที่อ่านได้เหมาะสมมากที่สุด ก. ปรมินทร์เตรียมพจนานุกรมไว้สำหรับเปิดหา คำศัพท์ที่ไม่รู้โดยเฉพาะ ข. วาริศพิจารณาเนื้อเรื่องจากประวัติผู้แต่งว่าผู้แต่ง มักเขียนเรื่องประเภทใด ค. เดือนหยาดพิจารณาน้ำเสียง การเปรียบเทียบ แต่งกาย ๕. บุคคลใดปฏิบัติตามหลักมารยาทในการพูดได้อย่าง เหมาะสม ก. กั้งอมลูกอมเวลาพูด เพื่อช่วยให้ชุ่มคอ เสียงไม่แห้ง ข. เมยพูดได้ไม่ค่อยประทับใจ แต่พูดได้เต็มเวลาที่ครู เพื่อหาความหมายที่ปรากฏในเรื่อง กำหนด ง. พิลาสลักษณ์สรุปความหนังสือแต่ละหน้า เพื่อหา ว่ามีประเด็นใดที่น่าจะต้องอาศัยการตีความ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ภาษาไทย มัธยมปลาย

เรางงกับการเขียนเป็นผังมากๆ

หแย๑ด๑"กเซแรแเร 17:43 @ =.12( 1 ๕๐ @ ยทเงอ.9000๐9เอ.๐๐ทา ๑๑๑ (บทความที่ ๑๒) เด็กไทยกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ก่อนวันเด็กแห่งชาติ 1 วัน คือเมือวันที่ 9 มกราคม พ.ศ.2558 ในรายการเจาะข่าวเข้านี้ของสถานีวิทยุจุฬา ตร ธีรารัตน์ พัน โทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คือ ตร.พิเซฐ ตุรงคเวโรจน์ ว่าเด็กไทยจะช่วยสร้างชาติได้ อย่างไรผ่านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้เขียนเห็นว่าถ้านักเรียนได้อ่านบทความนี้ น่าจะเกิดความสนใจและตั้งใจเรียนวิทยาศาสตร์ กันมากขึ้น ถ้าคนไทยจํานวนมากเก่งวิทยาศาสตร์ สิ่ที่จะตามมาซึ่งจะช่วยให้ประเทศสามารถแข่งขันกับนานาขาติได้ใบเวทีโลก ก็คือ นวัดกรรม เทคโนโลยีใหม่ๆ และทรัพย์สินทางปัญญา. ถึงแม้ว่าเด็กและเยาวชนส่วนหนึ่งเก่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาก จนได้รับรางวัลระดับนานาชาติดังที่มีข่าวเป็นระยะๆ แต่เมื่อมองในภาพรวมยังถือว่ามีจํานวนน้อย กล่าวคือเด็กไทยสนใจ เรียนต่อด้านวิทยาศาสตร์น้อย และแม้จะมีการเรียนการสอน วิทยาศาสตร์อยู่โนหลักสูตรทุกระดับตั้งแต่ประถมศึกษาจนอุตมศึกษา แต่กไม่ตั้งใจเรียนวิทยาศาสตร์ ในสภาพการณ์ปัจจุบันของเรา มีเหตุปัจจัยหลายประการที่ทําให้คนส่วนไหญ่ไม่สนใจเรียนต่อด้านวิทยาศาสตร์ หรือถึง เรียนตามหลักสูตรก็เรียนแบบไม่ตั้งใจ เรียนแบบท่องจํา หรือเรียนเพียงเพื่อสอบให้ผ่าน ปัจจัยที่สําคัง ัญประการแรกคือขาดแรง บันตาลใจ ดร.พิเซฐ กล่าวว่า จะต้องหาต้นแบบที่เก่งและประสบความสําเร็จทางด้านวิทยาศาสตร์ และเป็นที่เด็ก ๆ เห็นว่าเท่ อยาก เอาเป็นแบบอย่าง มาช่วยพูดช่วยเล่าประสบการณ์เพื่อให้เห็นประโยชน์ เห็นคุณค่า และกระตุ้นความสนใจวิชาวิทยาศาสตร์ ทาง กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเองก็มีกิจกรรมหลายอย่างสนับสนุนการสร้างแรงบันตาลใจ มีถนนสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งในช่วง วันเด็กแห่งชาติปีนี้จัดเพิ่มเป็น 3 วัน และจัดเพิ่มขึ้นหลายแห่ง มีสถาบันตาราศาสตร์แห่งชาติที่มีกล้องตูตาวซึ่งมีขนาดใหญ่ที่สุดใน. อาเซียนที่ดอยอินทนนท์ นอกจากจะให้ความรู้แก่ผูที่มีโอกาสไปเยี่ยมชม ยังได้เผยแพร่ข้อมูลความรู้ด้านตาราศาง เรียนรู้ของจังหวัดต่างๆ ด้วย เพื่อสร้างความพิศวงและความสนใจอยากรู้อยากเห็นให้แก่เด็กนักเรียนและผู้สนใจ วิทยาศาสตร์ที่จังหวัดปทุมธานี มีรถคาราวานวิทยาศาสตร์กระจายความรู้ไปตามโรงเรียนต่างๆ ทั่วประเทศ เป็นต้น ปัจจัยต่อมาคือ ในโรงเรียนส่วนใหญ่กระบวนการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ยังไม่ดี เนื่องจากขาดแคลนครูสอนวิทยาศาสตร์ที ปัญหานี้กําสังหาทางแก้ไข เช่น ขอให้มหาวิทยาลัย 5 แห่งเข้าไปช่วยปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ และ กําลังพิจารณาหาทางให้ผู้เรียนจบสาขาวิทยาศาสตร์โดยตรงเป็นครูผู้สอน ดังที่หลายประเทศทํากัน หาวิธีลตภาระงานครู และ จริงโดยส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือกันระหว่างภาคการศึกษากับภาคเอกชน ซึ่งนอกจากเป็นการเรียนรู้นอกห้องเรียน ยังจะช่วย ความรู้ความเข้าใจถึงประโยชน์ของการนําวิทยาศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในการประกอบกิจการ ปัจจัยประการสุดท้าย คือเรื่องตําแหน่งการงานสําหรับผู้เรียนจบทางด้านวิทยาศาสตร์ ปัจจุบันกล่าวได้ว่างานที่จะร ยังมีน้อย สําหรับแนวทางแก้ปัญหานี้ ตร.พิเซฐ มีความเห็นว่าควรหาทางสนับสนุนและขี้แนะให้ภาคการผลิตของเอกชน เร ความสําคัญของการมีหน่วยวิจัยพัฒนาตังเช่นบริษัทใหญ่ๆ ในต่างประเทศ เพื่อปรับปรุงกระบวนการผลิต เพิ่มคุณภาพผลิตภัณฑ์ ตลอดจนสร้างนวัตกรรมและทรัพย์สินทางปัญญา ในระยะยาวจะได้สามารถแข่งขันกับประเทศอื่นได้ในเวทีโลก ดังนั้นถ้าภาคเอกชน มีงานวิจัยพัฒนาเพิ่มขึ้น ตําแหน่งงานรองรับนักวิทยาศาสตร์ก็จะมีมากขึ้น สําหรับทรัพย์สินทางปัญญา ประเทศเรามีศักยภาพที่จะ ทําให้เกิดขึ้นได้มากพอควร เพราะในภาครัฐเช่นสถาบันอุดมศึกษา มีผู้มีความรู้ความสามารถไม่น้อยที่มีผลงานวิชาการที่สามารถ นํามาต่อยอดได้ แต่เนื่องจากจ ค์หลัก ทําธุรกิจเพื่อหารายได้ จึงมีงานที่เป็นทรัพย์สินทางปัญญาเกิดขึ้นไม่

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0