ภาษาไทย
มัธยมปลาย
เรางงกับการเขียนเป็นผังมากๆ
หแย๑ด๑"กเซแรแเร 17:43 @ =.12( 1
๕๐ @ ยทเงอ.9000๐9เอ.๐๐ทา ๑๑๑
(บทความที่ ๑๒) เด็กไทยกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ก่อนวันเด็กแห่งชาติ 1 วัน คือเมือวันที่ 9 มกราคม พ.ศ.2558 ในรายการเจาะข่าวเข้านี้ของสถานีวิทยุจุฬา ตร ธีรารัตน์ พัน
โทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คือ ตร.พิเซฐ ตุรงคเวโรจน์ ว่าเด็กไทยจะช่วยสร้างชาติได้
อย่างไรผ่านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้เขียนเห็นว่าถ้านักเรียนได้อ่านบทความนี้ น่าจะเกิดความสนใจและตั้งใจเรียนวิทยาศาสตร์
กันมากขึ้น ถ้าคนไทยจํานวนมากเก่งวิทยาศาสตร์ สิ่ที่จะตามมาซึ่งจะช่วยให้ประเทศสามารถแข่งขันกับนานาขาติได้ใบเวทีโลก ก็คือ
นวัดกรรม เทคโนโลยีใหม่ๆ และทรัพย์สินทางปัญญา.
ถึงแม้ว่าเด็กและเยาวชนส่วนหนึ่งเก่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาก จนได้รับรางวัลระดับนานาชาติดังที่มีข่าวเป็นระยะๆ
แต่เมื่อมองในภาพรวมยังถือว่ามีจํานวนน้อย กล่าวคือเด็กไทยสนใจ เรียนต่อด้านวิทยาศาสตร์น้อย และแม้จะมีการเรียนการสอน
วิทยาศาสตร์อยู่โนหลักสูตรทุกระดับตั้งแต่ประถมศึกษาจนอุตมศึกษา แต่กไม่ตั้งใจเรียนวิทยาศาสตร์
ในสภาพการณ์ปัจจุบันของเรา มีเหตุปัจจัยหลายประการที่ทําให้คนส่วนไหญ่ไม่สนใจเรียนต่อด้านวิทยาศาสตร์ หรือถึง
เรียนตามหลักสูตรก็เรียนแบบไม่ตั้งใจ เรียนแบบท่องจํา หรือเรียนเพียงเพื่อสอบให้ผ่าน ปัจจัยที่สําคัง
ัญประการแรกคือขาดแรง
บันตาลใจ ดร.พิเซฐ กล่าวว่า จะต้องหาต้นแบบที่เก่งและประสบความสําเร็จทางด้านวิทยาศาสตร์ และเป็นที่เด็ก ๆ เห็นว่าเท่ อยาก
เอาเป็นแบบอย่าง มาช่วยพูดช่วยเล่าประสบการณ์เพื่อให้เห็นประโยชน์ เห็นคุณค่า และกระตุ้นความสนใจวิชาวิทยาศาสตร์ ทาง
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเองก็มีกิจกรรมหลายอย่างสนับสนุนการสร้างแรงบันตาลใจ มีถนนสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งในช่วง
วันเด็กแห่งชาติปีนี้จัดเพิ่มเป็น 3 วัน และจัดเพิ่มขึ้นหลายแห่ง มีสถาบันตาราศาสตร์แห่งชาติที่มีกล้องตูตาวซึ่งมีขนาดใหญ่ที่สุดใน.
อาเซียนที่ดอยอินทนนท์ นอกจากจะให้ความรู้แก่ผูที่มีโอกาสไปเยี่ยมชม ยังได้เผยแพร่ข้อมูลความรู้ด้านตาราศาง
เรียนรู้ของจังหวัดต่างๆ ด้วย เพื่อสร้างความพิศวงและความสนใจอยากรู้อยากเห็นให้แก่เด็กนักเรียนและผู้สนใจ
วิทยาศาสตร์ที่จังหวัดปทุมธานี มีรถคาราวานวิทยาศาสตร์กระจายความรู้ไปตามโรงเรียนต่างๆ ทั่วประเทศ เป็นต้น
ปัจจัยต่อมาคือ ในโรงเรียนส่วนใหญ่กระบวนการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ยังไม่ดี เนื่องจากขาดแคลนครูสอนวิทยาศาสตร์ที
ปัญหานี้กําสังหาทางแก้ไข เช่น ขอให้มหาวิทยาลัย 5 แห่งเข้าไปช่วยปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ และ
กําลังพิจารณาหาทางให้ผู้เรียนจบสาขาวิทยาศาสตร์โดยตรงเป็นครูผู้สอน ดังที่หลายประเทศทํากัน หาวิธีลตภาระงานครู และ
จริงโดยส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือกันระหว่างภาคการศึกษากับภาคเอกชน ซึ่งนอกจากเป็นการเรียนรู้นอกห้องเรียน ยังจะช่วย
ความรู้ความเข้าใจถึงประโยชน์ของการนําวิทยาศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในการประกอบกิจการ
ปัจจัยประการสุดท้าย คือเรื่องตําแหน่งการงานสําหรับผู้เรียนจบทางด้านวิทยาศาสตร์ ปัจจุบันกล่าวได้ว่างานที่จะร
ยังมีน้อย สําหรับแนวทางแก้ปัญหานี้ ตร.พิเซฐ มีความเห็นว่าควรหาทางสนับสนุนและขี้แนะให้ภาคการผลิตของเอกชน เร
ความสําคัญของการมีหน่วยวิจัยพัฒนาตังเช่นบริษัทใหญ่ๆ ในต่างประเทศ เพื่อปรับปรุงกระบวนการผลิต เพิ่มคุณภาพผลิตภัณฑ์
ตลอดจนสร้างนวัตกรรมและทรัพย์สินทางปัญญา ในระยะยาวจะได้สามารถแข่งขันกับประเทศอื่นได้ในเวทีโลก ดังนั้นถ้าภาคเอกชน
มีงานวิจัยพัฒนาเพิ่มขึ้น ตําแหน่งงานรองรับนักวิทยาศาสตร์ก็จะมีมากขึ้น สําหรับทรัพย์สินทางปัญญา ประเทศเรามีศักยภาพที่จะ
ทําให้เกิดขึ้นได้มากพอควร เพราะในภาครัฐเช่นสถาบันอุดมศึกษา มีผู้มีความรู้ความสามารถไม่น้อยที่มีผลงานวิชาการที่สามารถ
นํามาต่อยอดได้ แต่เนื่องจากจ ค์หลัก ทําธุรกิจเพื่อหารายได้ จึงมีงานที่เป็นทรัพย์สินทางปัญญาเกิดขึ้นไม่
ทหงแด๑«ตอูร 17:43 @ =,12( ไ1
๕๐ @ ยทเงอ.9000๐9เอ.๐๐ทา ๑๑๑
มีงานวิจัยพัฒนาเพิ่มขึ้น ตําแหน่งงานรองรับนักวิทยาศาสตร์ก็จะมีมากขึ้น สําหรับทรัพย์สินทางปัญญา ประเทศเรามีศักยภาพที่จะ
ทําให้เกิดขึ้นได้มากพอควร เพราะในภาครัฐเช่นสถาบันอุดมศึกษา มีผู้มีความรู้ความสามารถไม่น้อยที่มีผลงานวิชาการที่สามารถ
างปัญญาเกิดขึ้นไม่
นํามาต่อยอตได้ แต่เนื่องจากจุดประสงค์หลักของภาครัฐไม่ใช่การทําธุรกิจเพื่อหารายได้ จึงมีงานที่เป็นทรัพย์สินา
มาก ขณะนี้จึงกําลังดําเนินการปรับปรุงแก้
เบ่งผลประโยชน์กันได้หากร่วมมือกันนําผลงาน
ไขกฎหมาย ให้ภาครัฐและเอกชนสามารถ
าางวิชาการของคนในภาครัฐ มาพัฒนาเป็นทรัพย์สินทางปัญญา
ย ขณะนี้
เต่อกันและกัน คือเหตุที่เด็กขาดแรงบันดาลใจยังเกิดจากปัจจัยสองประการหลัง/
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกําลังพยายามบูรณาการกับกระทรวงและหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อหา
แนวทางและวิธีการแก้ไขทั้งสามประการที่กล่าวมาได้ เนื่องจากเห็นว่าการที่เด็กไทยส่วนใหญ่ไม่ตั้งใจเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ และ
เรียนต่อด้านวิทยาศาสตร์น้อย ย่อมเป็นอุปสรรคขัตขวางความหวังที่จะให้คนไทยจํานวนมากเก่งวิทยาศาสตร์
ในขณะที่หลายฝ่ายที่เกี่ยวข้องกําลังดําเนินการแก้ไขปัญหา เด็กไทยก็ควรปรับมุมมองของตนเกี่ยวกับการเรียนวิชา
วิทยาศาสตร์ด้วย คือมองให้เห็นคุณค่าว่า ในอนาคตวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นี่แหละจะเป็นเครื่องมือที่มีความสําคัญในการ
พพัฒนาตนเองและประเทศชาติ ให้สามารถแข่งขันกับชาติอื่น ๆ ได้ เพราะเมื่อประเทศเรามีคนจํานวนมากเก่งวิทยาศาสตร์ ก็จะทํา
'ให้เรามีนวัตกรรม มีทรัพย์สินทางปัญญา ตลอดจนเทคโนโลยีใหม่ ๆ เพิ่มชื้นเรื่อย ๆ จนกระทั่งสามารถเป็นแหล่งรายได้หลักอีก
อย่างหนึ่งของประเทศนอกเหนือจากภาคเกษตรกรรมและการท่องเ
ว
เลขกํากับ ข้อความที่กําหนด ที่ว่างสําหรับร่างรหัสคําตอบ
11 | กระบวนการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ยังไม่ดี
12 [ขาดแรงบันตาลใจ
13 | คนไทยจํานวนมากเก๋งวิทยาศาสตร์
14 | งานที่จะรองรับยังมีน้อย
15 [ทรัพย์สินทางปัญญา
16 | เทคโนโลยีใหม่ ๆ
17 นรัตกรรม
18 [ไม่ติ้งใจเรียนวิชาวิทยาศาสตร์
19 | เรียนต้อทางด้านวิทยาศาสตร์น้อย
20 | สภาพการณ์ปัจจุบัน
คำตอบ
ยังไม่มีคำตอบ
ข้อสงสัยของคุณเคลียร์แล้วหรือยัง?
เมื่อดูคำถามนี้แล้ว
ก็จะเจอคำถามเหล่านี้ด้วย😉
สมุดโน้ตแนะนำ
[9 วิชา] สรุปภาษาไทยทั้งหมด
6079
24
[9 วิชา] THAI เนื้อเน้นๆ
5400
43
[dek60]MiniThaiBook(ทั้งเล่ม)
3257
28