ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

เคมี มัธยมปลาย

เคมี ม.4 เรื่องบรรจุภัณฑ์สำหรับอาหาร ช่วยทีค่ะ🫠

ลอ G. คำชี้แจง: จงพิจารณาบรรจุภัณฑ์และภาชนะที่ใส่อาหารต่อไปนี้แล้วตอบคำถามด้านล่าง B. H. /1 I. D. J. E. 1. ระบุชนิดพลาสติกที่ใช้ผลิตเป็นบรรจุภัณฑ์และภาชนะที่ใส่อาหารในรูปภาพด้านบน 1.1 บรรจุภัณฑ์และภาชนะที่ใส่อาหารที่ทำมาจากพลาสติกสังเคราะห์ชนิดพอลิเอทิลีน (PE) ได้แก่ 1.2 บรรจุภัณฑ์และภาชนะที่ใส่อาหารที่ทำมาจากพลาสติกสังเคราะห์ชนิดพอลิโพรพิลีน (PP) ได้แก่ A 1.4 บรรจุภัณฑ์และภาชนะที่ใส่อาหารที่ทำมาจากพลาสติกสังเคราะห์ชนิดพอลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต (PET หรือ PETE ได้แก่ หน 1.3 บรรจุภัณฑ์และภาชนะใส่อาหารที่ทำมาจากพลาสติกสังเคราะห์ชนิดพอลิสไตรีน (PS) ได้แก่ 1.5 บรรจุภัณฑ์และภาชนะที่ใส่อาหารที่ทำมาจากพลาสติกสังเคราะห์ชนิดพอลิเมลามีนฟอร์มาลดีไฮด์ ได้แก่ 2. บรรจุภัณฑ์และภาชนะที่ใส่อาหารในข้อใด ผลิตจากพลาสติกที่มีโครงสร้างเป็นแบบกึ่งและแบบเส้น ตอบ 3. บรรจุภัณฑ์และภาชนะที่ใส่อาหารในข้อใด ผลิตจากพลาสติกที่เมื่อได้รับความร้อนสูงจะไม่เปลี่ยนรูปแต่จะเหม ตอบ 4. บรรจุภัณฑ์และภาชนะที่ใส่อาหารในข้อใด ผลิตจากพลาสติกประเภทเทอร์โมเซตพลาสติก ตอบ 5. บรรจุภัณฑ์และภาชนะที่ใส่อาหารในข้อใด ผลิตจากพลาสติกที่สามารถนำมารีไซเคิลได้ ตอบ a 6

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยงับ5ข้อ

คำชี้แจง ให้นักเรียนลอกโจทย์และแสดงวิธีคิดทุกข้อ 1. จงเขียนผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากปฎิกิริยาที่กําหนดให้ CH₂CH=CHCH₂CH3 + KMnO4 + H₂O 2. สาร B มีสูตรโมเลกุล C,H, เมื่อนำไปทำปฏิกิริยากับ Br/CCI, เมื่อมี AIBr; เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา จงเขียนปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้น 3. สารประกอบไฮโดรคาร์บอน 2 ชนิด คือ สาร A และ B มีสูตรโมเลกุลเหมือนกันเป็น C,H, สาร A สามารถฟอกจางสี สารละลายด่างทับทิม แต่สาร B ไม่ฟอกจางสีสารละลายด่างทับทิม จากสมบัติดังกล่าวจงหาสูตรโครงสร้างของสาร A และ B 4. จากการเผาไหม้สาร 3 ชนิด คือ C,H, C,H, C,H,, และ CH สารประกอบใดเกิดเขม่ามากที่สุด 10 12 5. ในกลุ่มของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีสูตรทั่วไปร่วมกัน ถ้าเพิ่มจำนวนอะตอมของคาร์บอนขึ้นเรื่อย ๆ สารประกอบ ไฮโดรคาร์บอนจะมีสถานะตามลำดับอย่างไร 6. การทดลองต่อไปนี้ให้ผลเมื่อทดลองกับไฮโดรคาร์บอน 1. จุดติดไฟ 2. ทำปฏิกิริยากับสารละลายโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต (KMnO,) 3. ฟอกสีโบรมีนในคาร์บอนเตตระคลอไรด์ โดยไม่เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัส จากการทดลองที่กำหนดให้นักเรียนคิดว่าสารประกอบไฮโดรคาร์บอนควรมีสูตรทั่วไปว่าอย่างไร 7. เมื่อเขียนสมการแสดงการเผาไหม้ของเพนเทนในออกซิเจน จงหาผลบวกของตัวเลขสัมประสิทธิ์ของสมการที่ดุลแล้ว 8. จากสูตรโมเลกุล C,H, O เป็นสารประกอบอะไรได้บ้าง 9. จงหาสูตรโมเลกุลของ X Y และ Z เมื่อเกิดปฏิกิริยาดังสมการ X + Br₂ C₂H,Br + HBr C5H₁0Br2 6CO₂ + 6H₂O Y + Br₂ Z +90₂ 10. จงอ่านชื่อของสารประกอบที่กำหนดให้ด้วยระบบ IUPAC H H-C-H HHH H T T H H-C C-C C T 1 H H H H-C-HH-C-H C H C-H H H

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยครับ

A. B. C. D. E. F. G. H. I. J. มุมความรู้ คำสั่ง : จงตอบคำถามในข้อต่อไปนี้ 7. จงพิจารณาว่าเมื่อเปลี่ยนแปลงความดันของระบบ ระบบของปร ของปฏิกิริยาต่อไปนี้จะปรับตัวเข้าสู่สมดุลใหม่อย่างไร โดยแสดงเครื่องหมาย () เมื่อระบบเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า และเครื่องหมาย (4) เมื่อระบบเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ ● V การรบกวนสมดุลโดยการเปลี่ยนความดัน หลักการพิจารณาว่าระบบจะปรับตัวเข้าสู่สมดุลใหม่อย่างไร ให้พิจารณาจำนวนโมล (เลขสัมประสิทธิ์ ของแก๊สในสารตั้งต้น กับจำนวนโมลของแก๊สในผลิตภัณฑ์เท่านั้น ดังนี้ - ถ้าเพิ่มความดันให้กับระบบ : ระบบจะปรับตัวเข้าสู่สมดุลใหม่ โดยจะเลื่อนไปทางที่มีจำนวนโมลน้อยกว่า - ถ้าลดความดันให้กับระบบ : ระบบจะปรับตัวเข้าสู่สมดุลใหม่ โดยจะเลื่อนไปทางที่มีจำนวนโมลมากกว่า - ถ้าระบบที่มีจำนวนโมลของแก๊สเท่ากันทั้งในสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ การเพิ่มหรือลดความดันจะไม่มีผลต่อระบบ N₂(g) + 3H₂(g) 2NH3(g) N₂O4(g) 2NO₂(g) 2HBr(g) + Cl₂(g) 2CO2(g) = 2CO(g) + O2(g) 2SO₂(g) + O₂(s) = 2SO3(g) PC15(g) PC (g) CH₂(g) + 2H₂S(g) = 3Fe(s) + 4H₂O(g) = C(s) + 2H₂O(g) = 4NH(g) + 50₂(g) ● ตอบ ปฏิกิริยา ตอบ 2NO₂(g) N₂O4(g) 2HCI(g) + Br₂(g) + Cl₂(g) CS₂(g) + 4H₂(g) Fe3O4(s) + 4H₂(g) เมื่อเพิ่มความดันของระบบ ปฏิกิริยาใดบ้างที่มีผลิตภัณฑ์เกิดมากขึ้น ตอบ • เมื่อลดความดันของระบบ ปฏิกิริยาใดบ้างที่มีผลิตภัณฑ์เกิดมากขึ้น CO₂(g) + 2H₂(g) 4NO(g) + 6H₂O(g) จํานวนโมลของแกส การรบกวนสมดุลของระบบ ยู น สารตงตน ผลิตภัณฑ เพิ่มความดัน ลดความดัน 4 2 เมื่อเพิ่มหรือลดความดันในปฏิกิริยาใดบ้าง ที่ไม่มีผลต่อการรบกวนสมดุลของปฏิกิริยา

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยอธิบายหน่อยค่ะและขอคำตอบด้วยนะคะพอดีหนูทำข้อนี้ไม่ได้ค่ะ #ช่วยด้วยค่ะ

สาร A เกิดปฏิกิริยาการสลายตัวที่อุณหภูมิห้อง มีค่าพลังงานก่อกัมมันต์ = E3 และเมื่อเติมตัวเร่งปฏิกิริยา ลงไปพบว่าพลังงานก่อกัมมันต์มีค่าเท่ากับ E, ดังนี้ A % ผลิตภัณฑ์ (1) ; พลังงานก่อกัมมันต์ E ตัวเร่งปฏิกิริยา 5. เนที่ 2 โจท ดอ" ต่อ A ผลิตภัณฑ์ (1) ; พลังงานก่อกัมมันต์ E2 ต่อ ข้อสรุปใดต่อไปนี้เป็นไปได้ 1. พิจา 3 1. ค่า E = 2 การ 2. ปฏิกิริยาที่เดิมตัวเร่งจะคายความร้อนน้อยลง 3. เมื่อ A สลายตัวไประยะหนึ่ง อัตราการเกิดปฏิกิริยาทั้งสองจะเพิ่มขึ้น 4. ผลิตภัณฑ์ (1) มีพลังงานสูงกว่าผลิตภัณฑ์ (2) 5. ตัวเร่งปฏิกิริยาจะสลายตัวพร้อมกับสาร A และหมดไปในเวลาเดียวกัน การ การ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

วิชาเคมี

ให้นักเรียนคิดวิเคราะห์ในการคิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ แล้วเขียนคำตอบลงในช่องว่าง 1. ะทำการไถที่ดินโดยใ บุญธรรมเป็นชาวไร่ก่อนปลูกพืชแต่ละครั้งเขาจะทำการ" ช้รถขนาดใหญ่ ซึ่งสะดวกและรวดเร็วเมื่อปลูกพืชแล้วเขาจะบำรุงดูแลรักษาพืชไร่โด ยใช้รถไถและอุปกรณ์ที่ทันสมัยเมื่อเข้าไปฉีดพ่นสารฆ่าแมลงรดน้ำแ ละพรวนดินนอกจากนี้ยังใช้ปุ๋ยวิทยาศาสตร์เพื่อผลผลิตทำให้ได้ผลผ ลิตจำนวนมากและมีคุณภาพดีเป็นที่ต้องการของตลาดต่อมาปรากฏว่ าคุณภาพดินในที่นั้นเสื่อมลงโดยดินมีลักษณะแข็งและแน่นทดลองไ ถพรวนให้ลึกกว่าเดิมแต่เมื่อ ปลูกพืชรดน้ำและใส่ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ตามปกติแล้ว 1-2 เดือนต่อมาดินก็จะแข็งและแน่นเช่นเดิมเขาได้สังเกตพบว่าปัญหาเช่ นนี้จะไม่เกิดกับชาวไร่ที่ใช้รถไถขนาดเล็กและใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในการ บำรุงดิน เลย 1.1 ขั้นระบุปัญหา (ปัญหาในสถานการณคืออะไร)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยครับ เคมีม.5

10.1 จงเขียนสมการการแตกตัวของกรดแก่ HBr ความเข้มข้น 0.1 mol/Lและตอบคำถามข้อ10.2-12 (1 คะแนน) ความเข้มข้น (moL) HBr (ag) (aq) (aq) + เริ่มต้น 0.1 สุดท้าย 10.2 ข้อใดเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากปฏิกิริยาการแตกตัวของกรดแก่ HBr 0.1 ก. HBr ข. H ค. H,O" ง. OH 11. ข้อใดเป็นความเข้มข้นเริ่มต้นของผลิตภัณฑ์ที่ได้จากปฏิกิริยาการแตกตัวของกรดแก่ HBr ก. 0.0 molL ข. 0.1 molL ค. 0.2 mol/L ง. 2.0 mol/L 12. ข้อใดเป็นความเข้มข้นสุดท้ายของสารตั้งต้นที่ได้จากปฏิกิริยาการแตกตัวของกรดแก่ HBr ก. 0.0 moL ข. 0.1 mol/L ค. 0.2 molL ง. 2.0 mol/L 13. ข้อใดคือกรดอ่อน ก. HCL ข. HBr ค. HF ง. NaCl 14. ข้อใดคือเบสแก่ ก. LIOH ข. KCL ค. CH,COOH ง. HF 15.1 จงแสดงการคำนวณและตอบคำถามสารละลายกรดไฮโดรโบรมิก (HBr) ปริมาตร 250 มิลลิลิตร มีโบรไมด์ ไอออน (Br) มีความเข้มข้น 0.25 โมลต่อลิตร จะมีไฮโดรเนียมไอออน (H,O') กี่โมล (1 คะแนน) 15.2 จากการคำนวณในข้อ 16 มีไฮโดรเนียมไอออน (H,O) มีกี่โมล ก. 0.0 mol ข. 0.1 mol ศ. 0.5 mol ง. 1.0 mol

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะะเคมีม.6

40 แบบฝึกหัด 12.5 1. A B และ C เป็นสารประกอบแอโรแมติกไฮโดรคาร์บอน และมีโครงสร้างดังนี้ สาร โครงสร้าง A B C จงเรียงลำดับจุดเดือดของสารจากมากไปน้อย พร้อมอธิบายเหตุผล 2. ในการทดลองเติมผงแนฟทาลีนหรือลูกเหม็น (CyoH,) ปริมาณ 0.1 กรัม ลงในหลอดทดลอง ที่มีสารผสมระหว่างน้ำกลั่นและเฮกเซนอย่างละ 5 มิลลิลิตร จากนั้นเขย่าแรง ๆ และตั้งไว้ 3 นาที จงวาดรูปแสดงผลการทดลอง พร้อมอธิบายเหตุผล (กำหนดให้ ความหนาแน่น ของเฮกเซน = 0.66 กรัมต่อมิลลิลิตร) โครงสร้างของแนฟทาลีนหรือลูกเหม็น "รากของการศึกษามันขม แต่ผลของมันนั้นหวาน" ครูตะวัน ครูเคมี ครูใจดีที่สุดในโลก

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/12