ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

เคมี มัธยมปลาย

ชาวยหน่อยครับ

6.แก๊สไฮโดรเจน 5 โมล ปริมาตร 8200 ลูกบาศก์เซนติเมตร ที่ 27 องศาเซลเซียส จะมีความดันบรรยากาศ 7.แก๊สชนิดหนึ่งหนัก 3.20 กรัม มีปริมาตร 2.00 ลูกบาศก์เดซิเมตร ที่ 27 องศาเซลเซียส ความดัน 0.5 atm แก๊สนี้มีมวลโมเลกุลเท่าใด 11.แก๊สไฮโดรเจน 2 โมล แก๊สออกซิเจน 4 โมล และแก๊สฮีเลียม 6 โมล ผสมกันอยู่ในถังปริมาตร 5 ลิตร ที่ อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส จงหาความดันรวมและความดันของแก๊สออกซิเจน ตามลำดับ 12. ถ้าผสมแก๊สฮีเลียม 4 กรัม และแก๊สอาร์กอน 8 กรัม ในภาชนะขนาด 10 ลิตร ที่อุณหภูมิ 25 องศา เซลเซียส ความดันของแก๊สผสมเป็นบรรยากาศ (กำหนด มวลอะตอมของ He=4,Ar=40) 13. แก๊สใดมีอัตราการแพร่เป็น 3 เท่าของอัตราการแพร่ของไอน้ำ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยครับ

A. B. C. D. E. F. G. H. I. J. มุมความรู้ คำสั่ง : จงตอบคำถามในข้อต่อไปนี้ 7. จงพิจารณาว่าเมื่อเปลี่ยนแปลงความดันของระบบ ระบบของปร ของปฏิกิริยาต่อไปนี้จะปรับตัวเข้าสู่สมดุลใหม่อย่างไร โดยแสดงเครื่องหมาย () เมื่อระบบเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า และเครื่องหมาย (4) เมื่อระบบเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ ● V การรบกวนสมดุลโดยการเปลี่ยนความดัน หลักการพิจารณาว่าระบบจะปรับตัวเข้าสู่สมดุลใหม่อย่างไร ให้พิจารณาจำนวนโมล (เลขสัมประสิทธิ์ ของแก๊สในสารตั้งต้น กับจำนวนโมลของแก๊สในผลิตภัณฑ์เท่านั้น ดังนี้ - ถ้าเพิ่มความดันให้กับระบบ : ระบบจะปรับตัวเข้าสู่สมดุลใหม่ โดยจะเลื่อนไปทางที่มีจำนวนโมลน้อยกว่า - ถ้าลดความดันให้กับระบบ : ระบบจะปรับตัวเข้าสู่สมดุลใหม่ โดยจะเลื่อนไปทางที่มีจำนวนโมลมากกว่า - ถ้าระบบที่มีจำนวนโมลของแก๊สเท่ากันทั้งในสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ การเพิ่มหรือลดความดันจะไม่มีผลต่อระบบ N₂(g) + 3H₂(g) 2NH3(g) N₂O4(g) 2NO₂(g) 2HBr(g) + Cl₂(g) 2CO2(g) = 2CO(g) + O2(g) 2SO₂(g) + O₂(s) = 2SO3(g) PC15(g) PC (g) CH₂(g) + 2H₂S(g) = 3Fe(s) + 4H₂O(g) = C(s) + 2H₂O(g) = 4NH(g) + 50₂(g) ● ตอบ ปฏิกิริยา ตอบ 2NO₂(g) N₂O4(g) 2HCI(g) + Br₂(g) + Cl₂(g) CS₂(g) + 4H₂(g) Fe3O4(s) + 4H₂(g) เมื่อเพิ่มความดันของระบบ ปฏิกิริยาใดบ้างที่มีผลิตภัณฑ์เกิดมากขึ้น ตอบ • เมื่อลดความดันของระบบ ปฏิกิริยาใดบ้างที่มีผลิตภัณฑ์เกิดมากขึ้น CO₂(g) + 2H₂(g) 4NO(g) + 6H₂O(g) จํานวนโมลของแกส การรบกวนสมดุลของระบบ ยู น สารตงตน ผลิตภัณฑ เพิ่มความดัน ลดความดัน 4 2 เมื่อเพิ่มหรือลดความดันในปฏิกิริยาใดบ้าง ที่ไม่มีผลต่อการรบกวนสมดุลของปฏิกิริยา

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ขอวิธีทำหน่อยค่ะผม

10:14 น. Vo) 3.32 แปี" เfE KB/s Final m4.pdf กำหนดมวลอะตอม C = 12 H= 1 Cl = 35.5 N = 14 0 = 16 1. ให้นักเรียนเติมคำตอบลงในช่องว่าง แก๊ส มวล (g) โมล จำนวนอนุภาค ปริมาตรที่ STP (L) CH,CI, 98 N,0, 0.25 CO 1.12 2. คำนวณสูตรเอมพิริคัลของสารที่ประกอบด้วยร้อยละโดยมวลของธาตุองค์ประกอบต่อไปนี้ ร้อยละโดยมวลของธาตุองค์ประกอบ C H N 0 58.54 4.06 11.38 26.02 วิธีทำ 3. ถ้าต้องการเตรียมสารละลายโซเดียมคลอไรด์ ความเข้มข้น 0.25 โมลต่อลิตร จำนวณ 500 มิลลิลิตร จะต้องใช้โซเดียมคลอไรด์กี่กรัม วิธีทำ 4. ตุลสมการเคมีต่อไปนี้ 4.1 AI (s) + 0, (g) * Al,0, (s) 4.2 Fe (s) + H,0 (g) * H, (g) + Fe,0, (s) 5. เขียนสมการเคมี พร้อมทั้งดุลสมการของปฏิกิริยาเคมี จากข้อความต่อไปนี้ 5.1 เมื่อแยกน้ำด้วยกระแสไฟฟ้า โดยใช้สารละลายกรดซัลฟิวริก (H,SO.) เป็นตัวเร่ง ปฏิกิริยา จะได้แก๊สไฮโดรเจนและแก๊สออกซิเจน ตอบ การสังเคราะห์แก๊สแอมโมเนีย (NH,) ทำได้โดยใช้แก๊สไนโตรเจน (N,) และ 5.2 แก๊สไฮโดรเจน (H,) โดยมีเหล็กเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ตอบ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

รบกวนช่วยหน่อยได้มั้ยค่ะ พอดีจะสอบแล้วครูแกบอกแนวว่าจะออกสอบตามข้อสอบนี้ค่ะ อยากรู้คำตอบที่ถูกต้องแต่ละข้อค่ะ รบกวนขอแนวคิดแบบย่อๆด้วยนะค... อ่านต่อ

ข้อสอบปรนัยจำนวน 17 ข้อ (ยุคโควิด 19) ข้อมูลใช้ตอบคำถามข้อ 1-2 แก๊ส X เป็นออกไซด์ของฟลูออรีน เมื่อสลายแก๊ส X จำนวน 15 cm จะได้แก๊ส 0, จำนวน 75 cm จะได้แก๊ส F, จำนวน 15 cm เมื่อวัดที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน 1. อัตราส่วนโดยปริมาตร ตามกฎเกย์ลูสแซก จากสมการเคมี 0, F, - 0, : F, ข้อใดถูกต้อง ค. 2,3,1 ง. 1,3,2 ก. 1,2,3 ข. 1,5,1 2. จงหาสูตร โมเลกุลของแก๊ส X ข. 0F, ค. 0F ง. O,0F) ก. OF ข้อมูลใช้ตอบคำถามข้อ 3-7 โจทย์ที่ 1 ถ้า Pb (NO, ), ทำปฏิกิริยาพอดีกับ KI จำนวน 83 g ดังสมการ สมการเคมี KI (aq) + Pb(NO, ), (aq) - Pbl (aq) + KNO, (ag) (ยังไม่สมดุล) 2 มวลอะตอม Pb = 207.20 , N = 14 , 0 = 16 , K = 39.1 , I = 126.9 3. จากสมการข้างต้น เพื่อให้ให้สมการสมดุลจะต้องใส่จำนวนโมเลกุลหน้าสูตรเคมีตามข้อใด ก. 2,2,2,1 ข. 2,1,1,2 ค. 2,1,2,1 ง. 1,2,2,1

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

มีใครเคยทำUnit Questions 2 เคมีม.5เทอม1 นี้ไหมคะ มีใครพอทำได้บ้าง🤔

Unit Question 2 แสมุด คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ 1. กำหนดปฏิกิริยาให้ ดังนี้ A + 38 - 5C + 4D ถ้านำ A 1 โมล มาทำปฏิกิริยากับ B 5 โมล พบว่า เมื่อเวลาผ่านไป 10 วินาที มีสาร C เกิดขึ้น 4 โมล อัตราการสลายตัวเฉลี่ยของสาร B ในช่วง 0-10 วินาที มีค่ากี่โมลต่อวินาที นำโลหะสังกะสี 1.3 กรัม มาทำปฏิกิริยากับสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 0.5 โมลาร์ จำนวน 20 ลูกบาศก์เซนติเมตร ในช่วงนาทีแรก มีอัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนเท่ากับ 5.6 ลูกบาศก์เซนติเมตร/นาที ที่ STP อัตราการลดลงของสารละลายกรดไฮโดรคลอริกจะมีค่าเท่ากับ กีโมลาร์/นาที (กำหนดให้ มวลอะตอมของ Zn = 65) 2. เมื่อนำแมกนีเซียมจำนวน 7.2 กรัม มาทำปฏิกิริยากับสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 3 โมล/ลูกบาศก์เดซิเมตร จำนวน 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร เมื่อเวลาผ่านไป 1 นาที ปฏิกิริยา สิ้นสุดลงพอดี อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจะมีค่าเท่ากับกี่โมล/วินาที 3. Sh SL 4. จากการศึกษากลไกของปฏิกิริยา 2NO, (8) + F, (8) 2NO.F (8) มีกลไก 2 ขั้นตอน ดังนี้ NO (8) + F, (8) NO.F (g) + F (g) : เกิดช้า F (g) + NO (8) NO.F (g) ; เกิดเร็ว กฎอัตราของปฏิกิริยานี้เป็นอย่างไร 5. แก๊ส NO, สลายตัว ดังสมการ 2NO, (8) - 2NO (g) + 0, (8) ถ้าอัตราการสลายตัวของแก๊ส NO, มีค่าเท่ากับ 4.4 x 10 โมล/ลูกบาศก์เดซิเมตร-วินาที อัตราการเกิดแก๊ส 0, จะมีค่าเท่ากับกี่โมล/ลูกบาศก์เดซิเมตร-วินาที เมื่อนำแก๊สไนโตรเจนมอนอกไซด์ (NO) มาทำปฏิกิริยากับแก๊สคลอรีน (Cl,.) เกิดเป็นแก๊ส ไนโตรซิลคลอไรด์ (NOCI) เพิ่มขึ้นด้วยอัตรา 0.045 โมล/ลูกบาศก์็เดซิเมตร-วินาที อัตราการลดลง 6. ของแก๊สไนโตรเจนมอนอกไซด์ ณ ช่วงเวลาเดียวกันมีค่าเท่าใด อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี | 87

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/13