ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

ชีววิทยา มัธยมปลาย

สอบถามวิชาชีวะ

แบบฝึกหัดเรื่องลักษณะทางพันธุกรรม คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ต่อไปนี้ 1. ลักษณะทางพันธุกรรม (genetic character) คือ 2. นักวิทยาศาสตร์ท่านใดเป็นคนค้นพบกฎการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม 3. หน่วยพันธุกรรมที่ควบคุมลักษณะต่าง ๆ จากพ่อแม่โดยผ่านทางเซลล์สืบพันธุ์ไปยังลูกหลานอยู่เป็นคู่บน โครโมโซม เรียกว่า 4. ลักษณะทางพันธุกรรมที่สามารถปรากฏได้ทุกรุ่น เรียกว่า 5. เมนเดลเริ่มต้นศึกษาพันธุศาสตร์โดยใช้พืชชนิดใดในการทดลอง คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ต่อไปนี้ 1. ให้นักเรียนยกตัวอย่างลักษณะทางพันธุกรรมของนักเรียนที่ได้รับการถ่ายทอดมาจาก พ่อ และแม่ ลักษณะที่เหมือนพ่อ.. ลักษณะที่เหมือนแม่ 2. ลักษณะต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตสามารถถ่ายทอดไปยังลูกหลานได้อย่างไร ?

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยย​

มีจีโนไทป์แบบใด 4. จงเขียนพันธุประวัติ (pedigree) ของครอบครัวนี้ พร้อมระบุสัญลักษณ์ที่ใช้ให้ชัดเจน "ชายคนหนึ่งซึ่งมีแม่เป็นโรคตาบอดสีแต่งงานกับหญิงที่เป็นโรคตาบอดสี มีลูก 2 คน - คนแรกเป็นผู้หญิงไปแต่งงานกับผู้ชายตาปกติ มีลูกหนึ่งคนเป็นผู้หญิงตาปกติและอีกคนเป็นผู้ชาย - คนที่สองเป็นผู้ชายแต่งงานกับผู้หญิงตาปกติ มีลูกหนึ่งคนเป็นผู้ชายและอีกคนเป็นผู้หญิงที่เป็นโรคตาบอดสี 5. พ่อแม่คู่หนึ่งไม่เป็นโรคฮีโมฟีเลียมีลูกสาวและลูกชายที่ไม่เป็นโรคเช่นกัน ต่อมาลูกสาวแต่งงานกับชายที่ไม่ เป็นโรคได้ลูกที่ไม่เป็นโรคและเป็นโรคอย่างละหนึ่งคน จงหาว่า 5.1 จีโนไทป์ของพ่อแม่คู่นี้ 5.2 ลูกของลูกสาวที่เป็นโรคคือลูกชายหรือลูกสาว และมีจีโนไทป์อย่างไร 6. หญิงปกติคนหนึ่งมีหมู่เลือด O และมีพ่อเป็นโรค sickle cell anemia แต่งงานกับชายที่มีหมู่เลือด AB และ เป็นโรค sickle cell anemia จงหาโอกาสของลูกที่มีหมู่เลือด A และเป็นโรค sickle cell anemia 7. หญิงศีรษะไม่ล้านที่มีแม่ศีรษะล้านแต่งงานกับชายศีรษะล้านที่มีพ่อศีรษะไม่ล้าน จงหาร้อยละของลูกชาย และร้อยละของลูกสาวที่มีศีรษะล้าน

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ขอแบบละเอียด

10 บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ชีววิทยา เล่ม 2 8. ในครอบครัวหนึ่งสามีภรรยาไม่เป็นโรคฮีโมฟิเลียมีลูกสาวและลูกชายซึ่งทั้งคู่ไม่เป็น โรคฮีโมฟิเลียเช่นกัน ต่อมาลูกสาวแต่งงานกับชายซึ่งไม่เป็นโรคฮีโมฟิเลีย แต่ให้กำเนิด ลูกที่เป็นโรคและไม่เป็นโรคอย่างละหนึ่งคน ถ้าหากแอลลีลที่ควบคุมการเป็นโรคฮีโมฟิเลีย คือ แอลลีลด้อยซึ่งอยู่บนโครโมโซม X (x) และแอลลีลที่ควบคุมลักษณะไม่เป็นโรคคือ แอลลีลเด่น (X") จงหาว่า 10 8.1 สามีภรรยาคู่แรกมีจีโนไทป์เป็นอย่างไร 8.2 ลูกของลูกสาวที่แสดงอาการเกิดโรคฮีโมฟิเลียคือลูกชายหรือลูกสาว และจีโนไทป์ของ ลูกคนดังกล่าวเป็นอย่างไร 8.3 ถ้าลูกชายของสามีภรรยาคู่แรกแต่งงานกับผู้หญิงที่เป็นโรคฮีโมฟิเลียในบรรดาลูกชาย ที่เกิดมาจะมีโอกาสเป็นโรคนี้ร้อยละเท่าใด 9. ตาบอดสีควบคุมด้วยแอลลีลด้อยบนโครโมโซมเพศ (X) ครอบครัวที่ 1 มีลูกสาวสองคนและ ลูกชายหนึ่งคนตามลำดับ และครอบครัวที่ 2 มีลูกสาวปกติ ลูกชายตาปกติและลูกชายเป็น ตาบอดสีตามลำดับ ถ้าลูกชายจากครอบครัวที่ 1 แต่งงานกับลูกสาวจากครอบครัวที่ 2 มี ลูกสาวปกติและลูกชายเป็นตาบอดสีตามลำดับ 9.1 จงเติมสัญลักษณ์ในพันธุประวัติของ 2 ครอบครัวนี้ให้สมบูรณ์ กำหนดให้ 0 แทนผู้หญิงปกติ แทนผู้หญิงเป็นตาบอดสี บแทนผู้ชายปกติ "แทนผู้ชายเป็นตาบอดสี ครอบครัวที่ 1 ครอบครัวที่ 2 I 2 3 4 II 1 2 3 4 5 6 1 2 =

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยด้วยค้าบบ​แงงง🧫🌏

ม . . 1. ชื่อ เลขที่ 2. ื่อ แลขที่ กิจกรรม 3. ชื่อ เลขที่ 4. ชื่อ แลขที่ เรื่อง โครงสร้างโลก 5. ชื่อ เลขที่.. จุดประสงค์ ออกแบบตารางแสดงข้อมูลเกี่ยวกับโครงสร้างโลกจากแผนภาพที่กำหนดให้ คำชี้แจง ให้นักเรียนสังเกต วิเคราะห์แผนภาพเกี่ยวกับโครงสร้างโลก และนำข้อมูลที่ได้มาบันทึกลงบนตารางให้ครบถ้วน ถูกต้อง เปลือกโลกทวีป มหาสมุทร การแบ่งชั้นโครงสร้างโลกตามองค์ประกอบทางเคมี เปลือกโลกมหาสมุทร - เนื้อโลกชั้นบนสุด (ของแข็ง) ธรณีrาค 100 km เนื้อโลกชั้นบน (ของแข็งเนื้ออ่อน) 200 km 700 m 300 km 2900 km เนื้อโลกชั้นล่าง (ของแข็ง) น แต่นโดก | สรุปการแบ่งชั้นโครงสร้างโลก "ได้ 3 ชั้น คือ 1. แก่นโลก (core) 12. เนื้อโลก (mantle) 13. เปลือกโลก (crust) 5150 km รูป5. กามปครงสร้างไดยตานองค์ประกอบทายคลนละองค์ประกอบทางคมัขงแต่อะชั้น แก่นโลกขั้นใน แก่นโลกชั้นนอก (ของแข็ง) (ของเหลว) 370 km ภาพ ก ภาพ ข 1 3065 คm Crust 8 o 75 Arm uthosphere 100 to 200 krm - Asthonosphore 350 to 500 km Mantie - 2885 m - Metosphere Lithouphere (Rigid) Asthenosphere < (Plastic) 2270 m Crust (Silicates) (Soid) 2900 คm Mante (Silcates) 6 1216 คrm Core (Iron) Outer Core (Lquid) 5150 คm 5155 63i m |Core 6370 km --Layers based on chemical properties --Layers based on physical propertiesๆ ภาพ ค ภาพง ผลการออกแบบตารางข้อมูล

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ขอความรู้หน่อยค่า ช่วยหน่อยได้มั้ยคะ🙏✨ #ขอบคุณล่วงหน้าด้วยนะคะ🙏🙏

1. เพราะเหตุใดเราจึงไม่มีโอกาสได้พบเห็นอะมีบาขนาด 200 กิโลกรัมเดินอยู่ตามท้องถนน 2. จากการศึกษาเซลล์ที่ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน พบว่ามีไมโทคอนเดรีย กอลจิบอดี และ ร่างแหเอนโดพลาซึมชนิดผิวขรุขระ เป็นจำนวนมาก นักเรียนคิดว่าเซลล์ดังกล่าวนี้น่าจะทำหน้าที่อะไร ในร่างกายมนุษย์ 3. ไชยาไนด์ (cyanide) เป็นสารพิษที่สามารถจับกับเอนไซม์ที่ทำหน้าที่ในการถ่ายทอดอิเล็กตรอนใน กระบวนการหายใจระดับเซลล์ได้อย่างถาวร ทำให้ร่างกายเกิดภาวะเป็นพิษของไซยาไนด์ การจับของ ไชยาไนด์ทำให้เอนไซม์ไม่สามารถถ่ายทอดอิเล็กตรอนไปให้กับตัวรับอิเล็กตรอนที่อยู่ข้างเคียงได้ นักเรียนคิดว่าสภาวะดังกล่าวจะส่งผลอย่างไรต่อกระบวนการสร้าง ATP และส่งผลอย่างไรต่อร่างกาย มนุษย์ (มี 2 คำถามนะครับ อธิบายให้ครบ) 4. กรดนิวคลีอิกมีโครงสร้างที่คล้ายคลึงกับโครงสร้างของ ATP แต่เราพบว่าร่างกายของเราไม่มีการใช้ กรดนิวคลีอิกเป็นแหล่งพลังงาน คำถามคือเพราะเหตุใดร่างกายของเราจึงไม่ใช้กรดนิวคลีอิกเป็นแหล่ง พลังงานเป็นอันขาด 5. สมมติว่าเราสามารถวัดปริมาณ DNA ภายในเซลล์หนึ่งได้ ถ้าเรารู้ปริมาณ DNA ในการแบ่งเซลล์ระยะ G1 แล้ว นักเรียนคาดว่าปริมาณ DNA ที่วัดได้จากเซลล์ในระยะต่าง ๆ ของวัฏจักรเซลล์จะมีค่าเป็น เท่าใด จงอธิบายวิธีการ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยนะคะฮือ🙏🏼💖

แนวนอน 5. โครงสร้างที่พบในเซลล์สัตว์ ประกอบด้วยไมโครทูบูลเป็นแกนของเซนโทรโซม 8. ถุงที่มีเยื่อหุ้ม 1 ชั้น สร้างมาจากกอลจิคอมเพล็กซ์ มีเอนไซม์สำหรับย่อยสลายสารภายในเซลล์ 10. สิ่งมีชีวิตที่ไม่มีเยื่อหุ้มล้อมรอบสารพันธุกรรมและไม่มีออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม 14. กระบวนการนำสารที่ไม่ละลายน้ำเข้าสู่เซลล์ โดยการยื่นส่วนของเยื่อหุ้มเซลล์ออกไปหุ้ม 16. โครงสร้างที่ประกอบด้วย DNA และโปรตีนเป็นเส้นที่ขดตัวหนาเห็นได้ชัดเจนในระยะแบ่งเซลล์ เมื่อศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์ 17. โครโมโซมที่มีลักษณะเหมือนกัน ขนาดเท่ากัน ตำแหน่งเซนโทรเมียร์ตรงกันและมียีนที่ควบคุม ลักษณะเดียวกันมีตำแหน่งตรงกัน เรียกว่า .. chromosome สส 19. การแบ่งนิวเคลียสของเซลล์ที่ทำให้ได้เซลล์ลูกมีจำนวนโครโมโซมลดลงครึ่งหนึ่ง 20. ออร์แกเนลล์ขนาดเล็กภายในเซลล์ ทำหน้าที่ในการสังเคราะห์โปรตีน ๕ส่ 0 ๆ นฯ ข แนวตั้ง 1. ออร์แกเนลล์ที่พบในเซลล์พืชที่บรรจุคลอโรฟิลล์ซึ่งใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง 2. ส่วนของโครโมโซมเดิมและโครโมโซมใหม่ที่สร้างขึ้นจากการจำลอง DNA ในระยะอินเตอร์เฟส ยึดติดกันตรงตำแหน่งเซนโทรเมียร์ 3. การแบ่งนิวเคลียสของเซลล์ที่ทำให้ได้เซลล์ลูก 2 เซลล์มีจำนวนโครโมโซมเท่าเดิม 4. โครงสร้างของเซลล์ที่เป็นเส้นใยสปินเดิล 6. การเคลื่อนที่ของน้ำผ่านเยื่อหุ้มเซลล์จากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารละลายต่ำไปยังบริเวณที่มี ความเข้มข้นของสารละลายสูง 7. กระบวนการที่เวสิเคิลภายในเซลล์เคลื่อนที่ไปรวมกับเยื่อหุ้มเซลล์เพื่อหลั่งสารออกนอกเซลล์ 9. ออร์แกเนลล์ขนาดเล็กที่มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น ทำหน้าที่สร้างพลังงานให้แก่เซลล์ ภายในมี DNA 11. สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวหรือหลายเซลล์ มีนิวเคลียสและมีออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม 12. บริเวณที่ sister chromatids แนบชิดกัน และเป็นบริเวณที่เกี่ยวข้องกับการยึดติดของเส้นใย สปินเดิลในระยะแบ่งเซลล์ 13. ส่วนประกอบของเซลล์ที่มีโครโมโซมอยู่ภายใน ทำหน้าที่ควบคุมกิจกรรมต่าง ๆ ภายในเซลล์ 15. ส่วนที่เป็นของเหลวภายในเซลล์ประกอบด้วยออร์แกเนลล์ต่าง ๆ การเคลื่อนที่ของตัวถูกละลายจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารละลายสูงไปยังบริเวณที่มีความ เข้มข้นของสารละลายต่ำกว่า จัดทำโดย สาขาวิทยาศาสตร์มัธยมศึกษาตอนปลาย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1