ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

ชีววิทยา มัธยมปลาย

ขอแบบละเอียด

10 บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ชีววิทยา เล่ม 2 8. ในครอบครัวหนึ่งสามีภรรยาไม่เป็นโรคฮีโมฟิเลียมีลูกสาวและลูกชายซึ่งทั้งคู่ไม่เป็น โรคฮีโมฟิเลียเช่นกัน ต่อมาลูกสาวแต่งงานกับชายซึ่งไม่เป็นโรคฮีโมฟิเลีย แต่ให้กำเนิด ลูกที่เป็นโรคและไม่เป็นโรคอย่างละหนึ่งคน ถ้าหากแอลลีลที่ควบคุมการเป็นโรคฮีโมฟิเลีย คือ แอลลีลด้อยซึ่งอยู่บนโครโมโซม X (x) และแอลลีลที่ควบคุมลักษณะไม่เป็นโรคคือ แอลลีลเด่น (X") จงหาว่า 10 8.1 สามีภรรยาคู่แรกมีจีโนไทป์เป็นอย่างไร 8.2 ลูกของลูกสาวที่แสดงอาการเกิดโรคฮีโมฟิเลียคือลูกชายหรือลูกสาว และจีโนไทป์ของ ลูกคนดังกล่าวเป็นอย่างไร 8.3 ถ้าลูกชายของสามีภรรยาคู่แรกแต่งงานกับผู้หญิงที่เป็นโรคฮีโมฟิเลียในบรรดาลูกชาย ที่เกิดมาจะมีโอกาสเป็นโรคนี้ร้อยละเท่าใด 9. ตาบอดสีควบคุมด้วยแอลลีลด้อยบนโครโมโซมเพศ (X) ครอบครัวที่ 1 มีลูกสาวสองคนและ ลูกชายหนึ่งคนตามลำดับ และครอบครัวที่ 2 มีลูกสาวปกติ ลูกชายตาปกติและลูกชายเป็น ตาบอดสีตามลำดับ ถ้าลูกชายจากครอบครัวที่ 1 แต่งงานกับลูกสาวจากครอบครัวที่ 2 มี ลูกสาวปกติและลูกชายเป็นตาบอดสีตามลำดับ 9.1 จงเติมสัญลักษณ์ในพันธุประวัติของ 2 ครอบครัวนี้ให้สมบูรณ์ กำหนดให้ 0 แทนผู้หญิงปกติ แทนผู้หญิงเป็นตาบอดสี บแทนผู้ชายปกติ "แทนผู้ชายเป็นตาบอดสี ครอบครัวที่ 1 ครอบครัวที่ 2 I 2 3 4 II 1 2 3 4 5 6 1 2 =

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยด้วยค้าบบ​แงงง🧫🌏

ม . . 1. ชื่อ เลขที่ 2. ื่อ แลขที่ กิจกรรม 3. ชื่อ เลขที่ 4. ชื่อ แลขที่ เรื่อง โครงสร้างโลก 5. ชื่อ เลขที่.. จุดประสงค์ ออกแบบตารางแสดงข้อมูลเกี่ยวกับโครงสร้างโลกจากแผนภาพที่กำหนดให้ คำชี้แจง ให้นักเรียนสังเกต วิเคราะห์แผนภาพเกี่ยวกับโครงสร้างโลก และนำข้อมูลที่ได้มาบันทึกลงบนตารางให้ครบถ้วน ถูกต้อง เปลือกโลกทวีป มหาสมุทร การแบ่งชั้นโครงสร้างโลกตามองค์ประกอบทางเคมี เปลือกโลกมหาสมุทร - เนื้อโลกชั้นบนสุด (ของแข็ง) ธรณีrาค 100 km เนื้อโลกชั้นบน (ของแข็งเนื้ออ่อน) 200 km 700 m 300 km 2900 km เนื้อโลกชั้นล่าง (ของแข็ง) น แต่นโดก | สรุปการแบ่งชั้นโครงสร้างโลก "ได้ 3 ชั้น คือ 1. แก่นโลก (core) 12. เนื้อโลก (mantle) 13. เปลือกโลก (crust) 5150 km รูป5. กามปครงสร้างไดยตานองค์ประกอบทายคลนละองค์ประกอบทางคมัขงแต่อะชั้น แก่นโลกขั้นใน แก่นโลกชั้นนอก (ของแข็ง) (ของเหลว) 370 km ภาพ ก ภาพ ข 1 3065 คm Crust 8 o 75 Arm uthosphere 100 to 200 krm - Asthonosphore 350 to 500 km Mantie - 2885 m - Metosphere Lithouphere (Rigid) Asthenosphere < (Plastic) 2270 m Crust (Silicates) (Soid) 2900 คm Mante (Silcates) 6 1216 คrm Core (Iron) Outer Core (Lquid) 5150 คm 5155 63i m |Core 6370 km --Layers based on chemical properties --Layers based on physical propertiesๆ ภาพ ค ภาพง ผลการออกแบบตารางข้อมูล

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ขอความรู้หน่อยค่า ช่วยหน่อยได้มั้ยคะ🙏✨ #ขอบคุณล่วงหน้าด้วยนะคะ🙏🙏

1. เพราะเหตุใดเราจึงไม่มีโอกาสได้พบเห็นอะมีบาขนาด 200 กิโลกรัมเดินอยู่ตามท้องถนน 2. จากการศึกษาเซลล์ที่ถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน พบว่ามีไมโทคอนเดรีย กอลจิบอดี และ ร่างแหเอนโดพลาซึมชนิดผิวขรุขระ เป็นจำนวนมาก นักเรียนคิดว่าเซลล์ดังกล่าวนี้น่าจะทำหน้าที่อะไร ในร่างกายมนุษย์ 3. ไชยาไนด์ (cyanide) เป็นสารพิษที่สามารถจับกับเอนไซม์ที่ทำหน้าที่ในการถ่ายทอดอิเล็กตรอนใน กระบวนการหายใจระดับเซลล์ได้อย่างถาวร ทำให้ร่างกายเกิดภาวะเป็นพิษของไซยาไนด์ การจับของ ไชยาไนด์ทำให้เอนไซม์ไม่สามารถถ่ายทอดอิเล็กตรอนไปให้กับตัวรับอิเล็กตรอนที่อยู่ข้างเคียงได้ นักเรียนคิดว่าสภาวะดังกล่าวจะส่งผลอย่างไรต่อกระบวนการสร้าง ATP และส่งผลอย่างไรต่อร่างกาย มนุษย์ (มี 2 คำถามนะครับ อธิบายให้ครบ) 4. กรดนิวคลีอิกมีโครงสร้างที่คล้ายคลึงกับโครงสร้างของ ATP แต่เราพบว่าร่างกายของเราไม่มีการใช้ กรดนิวคลีอิกเป็นแหล่งพลังงาน คำถามคือเพราะเหตุใดร่างกายของเราจึงไม่ใช้กรดนิวคลีอิกเป็นแหล่ง พลังงานเป็นอันขาด 5. สมมติว่าเราสามารถวัดปริมาณ DNA ภายในเซลล์หนึ่งได้ ถ้าเรารู้ปริมาณ DNA ในการแบ่งเซลล์ระยะ G1 แล้ว นักเรียนคาดว่าปริมาณ DNA ที่วัดได้จากเซลล์ในระยะต่าง ๆ ของวัฏจักรเซลล์จะมีค่าเป็น เท่าใด จงอธิบายวิธีการ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ 🥺🥺🥺

1. จงอธิบายกระบวนการเคลื่อนที่โดยใช้เท้า (การไหลของไซโตพลาซึม) 2. จงอธิบายการเคลื่อนโดยการใช้ระบบท่อน้ำของดาวทะเล 3. จงอธิบายเปรียบเทียบการเคลื่อนที่โดยกล้ามเนื้อบริเวณ jumping leg ของแมลง กับกล้ามเนื้อที่ใช้เหยีดแขน และงอแขนของมนุษย์ 4. จะเกิดอะไรหากเอ็นยึดกระดูก (tendon) บริเวณเข่าได้รับบาดเจ็บจนขาด 5. หากต่อมใต้สมองส่วนหน้าได้รับความเสียหายจนไม่สามารถทำงานได้จะเกิดอาการผิดปกติใดขึ้น จงยกตัวอย่าง อย่างน้อย 3 อาการพร้อมบอกกระบวนการหรือเหตุผลที่ทำให้เกิดอาการนั้น (บอกอาการและกระบวนการที่เกิด อาการ ไม่ใช่บอกแค่ไม่สามารถผลิตฮอร์โมน...ได้ (หากบอกแค่นี้จะไม่ได้คะแนน) 6. ฮอร์โมนสามารถเคลื่อนที่จากต่อมไร้ท่อจนไปมีผลต่ออวัยวะเป้าหมายได้อย่างไร จงอธิบายอย่างละเอียด 7. หมอตรวจพบว่าข้าวตังไม่สามารถย่อยอาหารประเภทสิพิตได้เมื่อตรวจละเอียดพบว่าอวัยวะที่ผลิต lipase ได้รับ ความเสียหายเป็นส่วนใหญ่นักเรียนคิดว่าข้าวจะมีปัญหาอะไรตามมาในด้านการเมแทบอลิซึม 8. จงอธิบายยกตัวอย่างกระบวนการควบคุมแบบป้อนกลับ 1 กระบวน (เป็นการควบคุมการหลั่งฮอร์อะไร และ เป็นการกระตุ้นหรือยับยั้งก็ได้)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

บอกคำตอบหน่อยค่ะ

คอนที่ 1 : ให้นักเรียนนำตัวอักษร ก -ต มาเติมในช่องว่าง ให้มีความสัมพันธ์กัน .1. ไมโตคอนเดรีย ก. เป็นส่วนที่มีไรโบโชมมาเกาะอยู่ 2. คลอโรพลาสต์ ข. ส่วนที่ยื่นเข้าไปเรียกว่า ครีวตี ของเหลว เรียกว่า เมทริกซ์ 3. ไรโบโชม ค. เกี่ยวข้องกับกระบวนการการสังเคราะห์ด้วยแสง .4. ไลโซโซม ง. มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น เรียก ว่า ฟอสโฟลิพิคไบเลเยอร์ ..5. กอลจิคอมเพล็ก จ. เป็นบริเวณที่ยืดเส้นใยสปินเดิล ช่วยในการ .6. เยื่อหุ้มเชลล์ เคลื่อนที่ของโครโมโชม 7. แวคิลโอล น. สังเคราะห์โปรตื่น ประกอบด้วยหน่วยย่อย 2 .8. เอ็นโดพลาสมิกเรติคิวลัม ชนิดขรุขระ หน่วย คือ หน่วยเล็กและหน่วยใหญ่ .9. เซนทริโอล ร. สร้างไลโซโชม 10. เอ็นโดพลาสมิกเรติคิวลัมชนิดเรียบ ย. ย่อยสลายและทำลายสิ่งแปลกปลอมต่างๆ 11. ผนังเซลล์ บ. สังเคราะห์ ลิพิด -12. นิวเคลียส ต. รักษาดุลยภาพของน้ำ ต. ควบคุมการแบ่งเซลล์

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ

1. หากสมมติพื้นที่ของใบไม้ 3 ตารางเมตร มีแสงมาตกกระทบ 3 umol ภายใน 3 วินาที บริเวณนี้จะได้รับแสงที่มีความเข้มแสงเท่าใด (ในหน่วย umol m s) จงแสดงวิธีการคำนวณ 2. จงเติมคำในข้อความต่อไปนี้ พืช C4 เช่น - (เขียนชื่อพืช 1 ชนิด) จะมีคลอโรพลาสต์ในชั้น Bundle sheath ทำให้มี ความสามารถในการตรึง CO, ได้ดีกว่า C, ประมาณ 3 เท่า เกิดการตรึง C0, จากอากาศในชั้น และมีการตรึง CO, ต่อในชั้น สารตัวแรกที่เกิดขึ้นหลังการตรึง CO, ครั้งแรก คือ (มี C 4 อะตอม) 3. จงเติมคำลงในช่องว่างของตารางการเปรียบเทียบการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช C, พืช C4 และพืช CAM ข้อเปรียบเทียบ พืช C, พืช Ca พืช CAM 3.1 เอนไซม์ที่ใช้ในการตรึง คาร์บอนครั้งแรก 3.2 สารเสถียรชนิดแรกที่ได้ จากการตรึงคาร์บอน 3.3 ช่วงเวลาการเปิดปากใบ เพื่อนำ CO, เข้า (เดิมคำว่า กลางวันหรือกลางคืน) 3.4 สารประกอบคาร์บอนที่ เป็นผลิตภัณฑ์จากการ สังเคราะห์ด้วยแสง ที่จะ นำไปใช้ในกระบวนการต่างๆ ของพืช

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

สรุประบบต่อมไร้ท่อ #tonty

Endocrine pancreas - Pancreatic islet 1) Algha cells -- Glucagon การทำงานร่วมกันของระบบต่อมไร้ท่อ 4 ระบบประสาทา Hupothalamus Hormone 2.) Beta Cells - Tทรuliท L Hupothalamus ทeuเrotransmiter : ถ่ายทอดกระแสประสาท * neurohormone : ควบคุมการทำงานของต่อมใต้สมอง : ตัวเชื่อมระหว่างระบบประสาท + ระบบต่อมิไว้ท่อ - GIC000ก : เพิ่มสะดับน้ำตาลในเสือด โทรalin : ลดระดับน้ำตาสในเลือด เ1) Hormones 2.) Homeostasis 2) Bologionl clock * hormoneaากhupithalamus มี 2 ปะเภท 1) สร้าง hormone alดม Anterior pitifory g 2.) สำa hormonealก็บที่ Pesterim ptiaig กmรทำงานในที่มืด หลั่งมาก 3 ทุ่ม - 4ทุ่มเมื่อให้ง่อง Rneal glord (กeatonก : ปรับนาฬิกาชีวิต- ส่วงนอน, สื่นนอน Endocrine Gland 5ทุ่มโกรทอองโมนทำงาน ใด็กแสกเกิดมีเมลาโทนินมากที่ไให้นอนเยอะ -Endocine -EX0orine : ต่อม สานุสร้าง หลั่งเข้ากระแสเลือด : อต่อม - สร้างสาร- หลังสารออกมาตรงตอม Pederior Rutary 9 ระบบต่อมไว้ท่อ Endocrine susiemT สดโมนอื่นๆ เ ดูดน้ำกลับที่ต่อไต-หลอดเลือด - ปัสาวะเข็มขั้น (นำนิอย) Roslerior Piutory 9. สร้าง ADH'ได้น้อย ดูดกลับน้อย ปัสสาวะจาง ฮอร์โมน การทำงานของสอร์โมน + - 40G : humaก chorionic gondotrophin สร้างจากสก - humsin : สร้าง จากเซลลบางส่วนของไทามัส เกี่ยวกับ T-cel ให้ไดามัส เGasin : สร้างจากกระเพาะ Hol -Seoretin : สร้างจากการดูโจติฉัมหลังโซเดี่ยม - ไฮโดงเจนศาสับอเนต เoleogs dkin : สถ้างจากดูโจดินัม กระตู้นการบีบตัวยองถุงน้ำด่งดับอ่อน หวั่งเสนไซม์ -Ethrmpidin : ส้างจากไตกระตุ้น ก ลส้าง RB0 1) รักษาดูลขภาพของร่างกาย 2)การเจริญเติบโต 3) การแสดังพฤติกรรม stimulus of hormone sunthesis & secretion 1. Humoral simulus : สนในเลือดกระตุ้น การสร้างการหลัง 2. Neural simulus : ระบบประสาท ก็ระตุ้น กสสร้าง หลัง 3 Harmonal simulus : hormone เป็นตัวกระตุ้น กาสร้าง หลัง Regulation of hormone secretion 1. คSstiye feedbgck, : กลีเกที่จะส่งให้ ร่างกายเพิ่ม หยุดเมื่อทำงานเสร็จ E การคลอดลูก 2. Nenadive feed bogk : กลไกที่จะสั่งให้ส่างกายหยุด หยุดการทำงานเมื่อยู่ใน set point ทำงานส่วมกับprolactic โดยจะหลัง 2 เวลา คือ กำลังคลอด ใหิหมลูก function : 1) หลั่งน้ำนม 2) ปียมคลูก พคลูกหดตัวเวลาคลอด 9 + Adrenol Hormone Andosterone - Corisd - Adrenaline - (Nora drenaline ทำงานในภาวะกดอ้น & เครียด การออกฤทธิ์ของ hormone - แrier sble : Proiein, Amine,Gily.coprotein - Fal Soladle : steroid hormone, Thurid hormone Sex Hormones - โesos terone : male secondary Se1 characierisic "Ssingen : Femole sgondary sex characterisfic - Progesiene : mรตั้งครรภ์ - เยี่งบุมดลูกหนาตัว Hormonal communication Endocrine signaling Paracrine sianaling ไม่เข้ากระแสเลือด Aidocring Signaling)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0