ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยนะคะฮือ🙏🏼💖

แนวนอน 5. โครงสร้างที่พบในเซลล์สัตว์ ประกอบด้วยไมโครทูบูลเป็นแกนของเซนโทรโซม 8. ถุงที่มีเยื่อหุ้ม 1 ชั้น สร้างมาจากกอลจิคอมเพล็กซ์ มีเอนไซม์สำหรับย่อยสลายสารภายในเซลล์ 10. สิ่งมีชีวิตที่ไม่มีเยื่อหุ้มล้อมรอบสารพันธุกรรมและไม่มีออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม 14. กระบวนการนำสารที่ไม่ละลายน้ำเข้าสู่เซลล์ โดยการยื่นส่วนของเยื่อหุ้มเซลล์ออกไปหุ้ม 16. โครงสร้างที่ประกอบด้วย DNA และโปรตีนเป็นเส้นที่ขดตัวหนาเห็นได้ชัดเจนในระยะแบ่งเซลล์ เมื่อศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์ 17. โครโมโซมที่มีลักษณะเหมือนกัน ขนาดเท่ากัน ตำแหน่งเซนโทรเมียร์ตรงกันและมียีนที่ควบคุม ลักษณะเดียวกันมีตำแหน่งตรงกัน เรียกว่า .. chromosome สส 19. การแบ่งนิวเคลียสของเซลล์ที่ทำให้ได้เซลล์ลูกมีจำนวนโครโมโซมลดลงครึ่งหนึ่ง 20. ออร์แกเนลล์ขนาดเล็กภายในเซลล์ ทำหน้าที่ในการสังเคราะห์โปรตีน ๕ส่ 0 ๆ นฯ ข แนวตั้ง 1. ออร์แกเนลล์ที่พบในเซลล์พืชที่บรรจุคลอโรฟิลล์ซึ่งใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง 2. ส่วนของโครโมโซมเดิมและโครโมโซมใหม่ที่สร้างขึ้นจากการจำลอง DNA ในระยะอินเตอร์เฟส ยึดติดกันตรงตำแหน่งเซนโทรเมียร์ 3. การแบ่งนิวเคลียสของเซลล์ที่ทำให้ได้เซลล์ลูก 2 เซลล์มีจำนวนโครโมโซมเท่าเดิม 4. โครงสร้างของเซลล์ที่เป็นเส้นใยสปินเดิล 6. การเคลื่อนที่ของน้ำผ่านเยื่อหุ้มเซลล์จากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารละลายต่ำไปยังบริเวณที่มี ความเข้มข้นของสารละลายสูง 7. กระบวนการที่เวสิเคิลภายในเซลล์เคลื่อนที่ไปรวมกับเยื่อหุ้มเซลล์เพื่อหลั่งสารออกนอกเซลล์ 9. ออร์แกเนลล์ขนาดเล็กที่มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น ทำหน้าที่สร้างพลังงานให้แก่เซลล์ ภายในมี DNA 11. สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวหรือหลายเซลล์ มีนิวเคลียสและมีออร์แกเนลล์ที่มีเยื่อหุ้ม 12. บริเวณที่ sister chromatids แนบชิดกัน และเป็นบริเวณที่เกี่ยวข้องกับการยึดติดของเส้นใย สปินเดิลในระยะแบ่งเซลล์ 13. ส่วนประกอบของเซลล์ที่มีโครโมโซมอยู่ภายใน ทำหน้าที่ควบคุมกิจกรรมต่าง ๆ ภายในเซลล์ 15. ส่วนที่เป็นของเหลวภายในเซลล์ประกอบด้วยออร์แกเนลล์ต่าง ๆ การเคลื่อนที่ของตัวถูกละลายจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารละลายสูงไปยังบริเวณที่มีความ เข้มข้นของสารละลายต่ำกว่า จัดทำโดย สาขาวิทยาศาสตร์มัธยมศึกษาตอนปลาย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
ภาษาไทย มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยนะคะ

๑๑) เสียงในภาษาไทย หมายถึงข้อใด ก. เสียงสูง เสียงกลาง เสียงต่ำ ค. เสียงสามัญ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี เสียงจัตวา ง. เสียงพยัญชนะต้น เสียงพยัญชนะควบ เสียงพยัญชนะสะกด ๑๒) ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ก. สระมีทั้งหมด ๒๑ รูป ๓๒ เสียง (ตำราเดิม) ข. สระมีทั้งหมด ๒๑ รูป ๒๑ เสียง (ตำราเดิม) ค. พยัญชนะมีทั้งหมด ๔๔ รูป ๒๑ เสียง ๑๓) ข้อใดมีสระเสียงสั้นทุกพยางค์ ก. น้ำแข็ง น้ำใจ น้ำเชื่อม น้ำมัน ข. เสียงพยัญชนะ เสียงสระ เสียงวรรณยุกต์ ง. วรรณยุกต์มี ๔ รูป ๕ เสียง ข. นงนุช นงเยาว์ นงคราญ นงลักษณ์ ง. นพเก้า นพคุณ นพเคราะห์ นพรัตน์ ข. นมข้น นมผง นมสด นมกล่อง ๑๔) ข้อใดมีเสียงสระประสมมากที่สุด ก. หลอก แทรก ปลวก ป่วน ข. เชิง เชื่อม ไข ม้วน ค. บวม เรียง กลัว เปลือก ๑๕) คำในข้อใดออกเสียงพยัญชนะต้นเสียง / ช / มากที่สุด ง. กวน อ้อน เปียก รำ ก. ฉาบ ฌาน เฉียด เฌอ ข. เสริม ไซร้ ฌาน เฌอ แทรก แสร้ง เฌอ ทราบ ง. สฤษฎ์ เฉือน โฉม ทรง ค. ๑๖) คำว่า "ข้าว" ในข้อใดออกเสียงสั้น ก. ข้าวเย็นแล้วต้องเอาไปนึ่งใหม่ ค. เราต้องนึกถึงข้าวแดงแกงร้อนของเขา ข. ข้าวสวยดีน่าจะเก็บไว้ทำพันธ์ ง. ข้าวเหนียวมากคงจะกินไม่อร่อย ๑๗) จากคำต่อไปนี้ "นพ , ดุจ กัน เทียบ" มีเสียงวรรณยุกต์เรียงตามข้อใด ก. สามัญ ตรี โท เอก ค. สามัญ เอก โท ตรี ๑๘) คำในข้อใดมีโครงสร้างของพยางค์เหมือนกันทุกคำ ข. ตรี สามัญ เอก โท ง. ตรี เอก สามัญ โท ก. เล่ห์ มาร ร้าย กล ข. ใน น้ำ ปลา นา ค. แดง แต่ง เติม แก้ม ง. จันทร์ เท่ห์ วัลย์ เสาร์ ๑๙) คำในข้อใดเป็นพยางค์ปิดทุกคำ ก. ท้าย สุด ฉัน คือ ข. ที่ ห้า นา ใน ค. อย่าง ไร เธอ มา ง. บ้าน ทุ่ง น้อง นาง ๒๐) ข้อใดใช้วัจนภาษา ก. เธออ่านนวนิยายแล้วชอบเล่าให้เพื่อนฟัง ค. นักเรียนในชั้นเงียบทันทีเมื่อครูจ้องหน้า 4. ทุกครั้งที่ฟังเพลงตลกพวกเขาจะหัวเราะทันที ข. เขายิ้มด้วยความพอใจเมื่อได้รับชัยชนะ

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ขอคำตอบแค่2ข้อพอค่ะ+สอนเราหาคำตอบของเเต่ละข้อหน่อยค่ะ

แบบฝึกหัดที่ 2.3 ตอบคำถามเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีทาง DNA ในเชิงนิติวิทยาศาสตร์ 1. ในคดีฆาตกรรมหญิงท้อง 9 เดือน ตำรวจสามารถเก็บเลือดคนร้ายได้ในทีเกิดเหตุ จากนั้น นำเลือดของผู้ต้องสงสัยมาตรวจลายพิมพ์ดีเอ็นเอเพื่อเปรียบเทียบกับลายพิมพ์ดีเอ็นเอคนร้าย จากลายพิมพ์ดีเอ็นเอ นักเรียนคิดว่าใครเป็นคนร้ายในคดีนี้ เพราะเหตุใด นิทรรศน์ อาทิตย์ คนร้าย นภัทร สมพงษ์ 2. จากลายพิมพ์ DNA ที่พบในที่เกิดเหตุในคดีฆาตกรรม และลายพิมพ์ DNA ของผู้ด้องสงสัย หมายเลข 1-5 จงหาว่า ผู้ต้องสงสัย บุคคลหมายเลข 4 ถูกกล่าวหาว่าเป็น ฆาตกร นักเรียนคิดว่าบุคคลหมายเลข 4 ถูกกล่าวหาถูกต้องหรือไม่ เพราะเหตุใด 2.1 หลักฐาน 1 2 3 4 5 2.2 ผู้ต้องสงสัยหมายเลขใดที่มีลายพิมพ์ DNA ใกล้เคียงกับหลักฐานที่พบในที่เกิดเหตุ 5) วจสอบลายพิมพ์ดีเอ็นเอ การกคนหนึ่ง นักเรียนคิดว่าสาว

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
สังคมศึกษา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ

6 ไวะการรียงู้ที1 เรื่อง เวลากับยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ป 1: 24 'แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ลิ่, ว ว 28, เรื่อง เวลากับยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกตอบคําถามที่ถูกต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว # การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ของไทย โดย แบ่งเป็นสมัยก่อนประวัติศาสตร์และสมัย ประวัติศาสตร์นั้นใช้อะไรเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง ก. รูปแบบการปกครอง ข. กกรเริ่มพัฒนาเทคโนโลยี ค. การตั้งถิ เหล้กแหล่ง ง. การเริ่มมีตัวอักษรใช้ในดินแดน พระราชกรณียกิจของพ่อขุนรามคําแหงมหาราชที่เป็น รากฐานสําคัญของวัฒนธรรมไทยคืออะไร ก. การประดิษฐ์อักษรไทย ข. การทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา ค. การขยายอาณาเขตไปสุดแหลมมลายู ง. การให้แขวนกระดิ่งหน้าประตูวังเพื่อให้ประชาชน มาสั่นร้องทุกข์ ข้อใดไม่ใช่สาเหตุที่ทําให้เสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 พ.ศ. 2310 ก. การแย่งชิงอํานาจในราชสํานัก ข. การต้อยประสิทธิภาพในการรบ ค. ชาติตะวันตกไม่ให้การสนับสนุนด้านอาวุธ ง. พระมหากษัตริย์ขาดพระปรีชาสามารถทางการรบ การประกาศใช้พุทธศักราชอย่างเป็นทางการในประเทศ ไทย เริ่มประกาศใช้เมื่อใด ก. พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว 'ข. พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้เจ้าอยู่หัว ค. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ง. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ข้อใดกล่าวถึงแคว้นละโว้ได้ถูกต้อง ก. ปกครองด้วยพระสงฆ์ ข. แผ่อํานาจไปทั่วภาคใต้ของไทย ค. มีลพบุรีเป็นศูนย์กลางการปกครอง ง. เป็นแควันที่เขมรสร้างขึ้นเมื่อครั้งปกครองดินแดน 'ในลุ่มน้าเจ้าพระยา 6. 10. หากประเทศไทยใช้การนับศักราชแบบรัตนโกสินทร์ศก (ร.ศ.) แล้วในบัจจุบัน (พ.ศ. 2561) จะเป็นปีร.ศ.เท่าใด ข.รศ.234 ค. ร.ศ. 236 ง. ร.ศ. 237 ข้อใดคืออาณาจักรโบราณสมัยก่อนอาณาจักรสุโขทัย กรูศ.233 ก. อยุธยา ข. ทวารวดี ค. รัตนโกสินทร์ ง. ธนบุรี ประเทศไทยเคยใช้การนับศักราชแบบรัตนโกสินทร์ศก (ร.ศ)) ในสมัยพระมหากษัตริย์พระองค์ใด ก. พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ซ. พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ค. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ง. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ศักราชและการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์มี ความสําคัญต่อการศึกษาเรื่องราวเหตุการณ์เทาง ประวัติศาสตร์อย่างไร ก. ทําให้ทราบความเป็นมาของมนุษย์ ข. ทําให้สามารถเรียงลําดับเหตุการณ์ได้ถูกต้อง ค. ทําให้ทราบการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ ตลอดเวลา ง. ทําให้ทราบความแตกต่างของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น แต่ละสมัย สําริด เกิดจากการที่มนุษย์ในยุดโบราณนําแร่ชนิดใดมา หลอมรวมกัน 'ทองแดง ผสมกับ เงิน 'ทองแดง ผสมกับ ดีบุก ทองแดง ผสมกับ เหล็ก « อ =@ 'ทองแดง ผสมกับ ทองคํา

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
1/2