ภาษาไทย
มัธยมปลาย
เคลียร์แล้ว

ช่วยหน่อยนะคะ

๑๑) เสียงในภาษาไทย หมายถึงข้อใด ก. เสียงสูง เสียงกลาง เสียงต่ำ ค. เสียงสามัญ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี เสียงจัตวา ง. เสียงพยัญชนะต้น เสียงพยัญชนะควบ เสียงพยัญชนะสะกด ๑๒) ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ก. สระมีทั้งหมด ๒๑ รูป ๓๒ เสียง (ตำราเดิม) ข. สระมีทั้งหมด ๒๑ รูป ๒๑ เสียง (ตำราเดิม) ค. พยัญชนะมีทั้งหมด ๔๔ รูป ๒๑ เสียง ๑๓) ข้อใดมีสระเสียงสั้นทุกพยางค์ ก. น้ำแข็ง น้ำใจ น้ำเชื่อม น้ำมัน ข. เสียงพยัญชนะ เสียงสระ เสียงวรรณยุกต์ ง. วรรณยุกต์มี ๔ รูป ๕ เสียง ข. นงนุช นงเยาว์ นงคราญ นงลักษณ์ ง. นพเก้า นพคุณ นพเคราะห์ นพรัตน์ ข. นมข้น นมผง นมสด นมกล่อง ๑๔) ข้อใดมีเสียงสระประสมมากที่สุด ก. หลอก แทรก ปลวก ป่วน ข. เชิง เชื่อม ไข ม้วน ค. บวม เรียง กลัว เปลือก ๑๕) คำในข้อใดออกเสียงพยัญชนะต้นเสียง / ช / มากที่สุด ง. กวน อ้อน เปียก รำ ก. ฉาบ ฌาน เฉียด เฌอ ข. เสริม ไซร้ ฌาน เฌอ แทรก แสร้ง เฌอ ทราบ ง. สฤษฎ์ เฉือน โฉม ทรง ค. ๑๖) คำว่า "ข้าว" ในข้อใดออกเสียงสั้น ก. ข้าวเย็นแล้วต้องเอาไปนึ่งใหม่ ค. เราต้องนึกถึงข้าวแดงแกงร้อนของเขา ข. ข้าวสวยดีน่าจะเก็บไว้ทำพันธ์ ง. ข้าวเหนียวมากคงจะกินไม่อร่อย ๑๗) จากคำต่อไปนี้ "นพ , ดุจ กัน เทียบ" มีเสียงวรรณยุกต์เรียงตามข้อใด ก. สามัญ ตรี โท เอก ค. สามัญ เอก โท ตรี ๑๘) คำในข้อใดมีโครงสร้างของพยางค์เหมือนกันทุกคำ ข. ตรี สามัญ เอก โท ง. ตรี เอก สามัญ โท ก. เล่ห์ มาร ร้าย กล ข. ใน น้ำ ปลา นา ค. แดง แต่ง เติม แก้ม ง. จันทร์ เท่ห์ วัลย์ เสาร์ ๑๙) คำในข้อใดเป็นพยางค์ปิดทุกคำ ก. ท้าย สุด ฉัน คือ ข. ที่ ห้า นา ใน ค. อย่าง ไร เธอ มา ง. บ้าน ทุ่ง น้อง นาง ๒๐) ข้อใดใช้วัจนภาษา ก. เธออ่านนวนิยายแล้วชอบเล่าให้เพื่อนฟัง ค. นักเรียนในชั้นเงียบทันทีเมื่อครูจ้องหน้า 4. ทุกครั้งที่ฟังเพลงตลกพวกเขาจะหัวเราะทันที ข. เขายิ้มด้วยความพอใจเมื่อได้รับชัยชนะ
แบบทดสอบ เรื่อง ธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา และลักษณะของภาษา หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ เรื่อง นิทานเวตาลบันตาลสุข วิชาภาษาไทย ๑ ท๓๑๑๐๑ คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว ๑) ข้อใดไม่มีคำที่เกิดจากการเลียนเสียงจากธรรมชาติ ก. ฟ้าร้องครีนๆ แล้วก็ผ่าเ ค. ใครเหยียบใบไม้เสียงดังกรอบแกรบ ก็ผ่าเปรี้ยงลงมา ข. เสียงหวูดรถไฟดังขึ้นก่อนที่จะเคลื่อนออกจากสถานี ง. เธอสวมเสื้อผ้าสีมอๆไม่ฉูดฉาดเหมือนสาววัยเดียวกัน ๒) ข้อใดไม่ได้เกิดจากการกร่อนเสียง ก. สายใจ ๓) ข้อใดมีความหมายแคบ ข. หมากม่วง ค. สายดือ ง. หมากพร้าว ก. เครื่องครัว ข. เครื่องจักร ๔) คำว่า น้ำ อ่านว่า น้าม แสดงว่ามีการเปลี่ยนแปลงภาษาในด้านใด ค. เครื่องยนต์ ง. เครื่องซักผ้า ข. คำ ๕) ข้อใดคือสิ่งที่ทำให้ภาษามีลักษณะต่างกัน ก. เสียง ง. สำนวน ค. ความหมาย ก. ใช้เสียงสื่อความหมาย ค. มีโครงสร้างไวยากรณ์ที่ต่างกัน ข. มีวิธีการสร้างศัพท์ขึ้นใหม่ ง. มีการเปลี่ยนแปลงตามสิ่งแวดล้อม 5) ข้อใด ไม่ใช่ลักษณะภาษาไทย ก. คำในภาษาไทยประกอบด้วยเสียงพยัญชนะ เสียงสระ และเสียงวรรณยุกต์ ข. ความหมายของคำบางคำมีหลายความหมายต้องใช้ให้ถูกต้องตามบริบท ค. ส่วนขยายประโยคสามารถขยายได้ทั้งภาคประธานและภาคแสดง ง. พยางค์เป็นหน่วยที่เล็กที่สุดที่ทำให้เกิดคำต่างๆ ึ่งมีหน้าที่ต่างกัน ๗) ประโยคในข้อใดที่มีพยัญชนะสะกดทุกคำ ก. อากาศเริ่มเย็นลงมากขึ้น ค. การพนันเป็นสิ่งผิดกฎหมาย ๔) ข้อใดเป็นความจริงที่เกี่ยวกับธรรมชาติของภาษา ก. ภาษาทุกภาษามีวิธีถ่ายเสียงเป็นตัวอักษรและใช้ตัวอักษรสื่อความหมาย ข. ถึงแม้เสียงในภาษามีจำนวนจำกัด แต่ก็สามารถสร้างคำสร้างประโยคได้โดยไม่จำกัดจำนวน ข. ข้าวในนาออกรวงสวยงาม ง. วัวเคี้ยวเอื้องเดินเอื่อยๆ ตามท้องทุ่ง ค. ถึงแม้ว่าเสียงกับความหมายไม่สัมพันธ์กัน แต่คำในภาษาไทยส่วนมากมีเสียงสัมพันธ์กับ ความหมาย ง. การศึกษาภาษาเขียนเป็นสิ่งที่ไม่จำเป็น เพราะภาษาใช้สื่อความหมายโดยอาศัยเสียงเป็นสำคัญ ๔) ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทางภาษา ก. การทำหลักสูตรภาษาไทย ข. อิทธิพลจากภาษาอื่น ง. ความเจริญทางเทคโนโลยี ค. ภาษาแสลง ๑๐) ข้อใดไม่ใช่ความสำคัญของภาษา ก. ภาษาช่วยกำหนดอนาคตมนุษย์ ค. ภาษาช่วยให้มนุษย์พัฒนา ข. ภาษาแสดงความเป็นปัจเจกบุคคล ง. ภาษาช่วยธำรงสังคม

คำตอบ

PromotionBanner
ข้อสงสัยของคุณเคลียร์แล้วหรือยัง?

เมื่อดูคำถามนี้แล้ว
ก็จะเจอคำถามเหล่านี้ด้วย😉