ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วย

188 15 4. บทที่ 5 | ชีวิตในสิ่งแวดล้อม ข้อมูลสถานที่ - มีอุณหภูมิแตกต่างกันมากในแต่ละฤดูและในระหว่างกลางวัน และกลางคืน มีปริมาณน้ำฝน 1. - พืชส่วนมากมีขนาดไม่ใหญ่ มีจำนวนน้อย ขึ้นกระจัดกระจาย และมีการปรับตัวเพื่อป้องกันการสูญเสียน้ำ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ - อุณหภูมิค่อนข้างสูงตลอดปี ฤดูแล้งยาวนาน 2. - พืชกลุ่มเด่นคือหญ้า และมีต้นไม้ขึ้นกระจัดกระจายแทรกอยู่ - อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 25-29 องศาเซลเซียส อุณหภูมิ และความชื้นไม่เปลี่ยนแปลงมากตลอดปี - มีความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตสูง 3. - พืชขึ้นอยู่อย่างหนาแน่น สามารถแบ่งชั้นตามระดับความสูง ของพืชได้หลายชั้น - ฤดูหนาวอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 10 องศาเซลเซียส ในฤดูร้อนอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 30 องศาเซลเซียส - พืชกลุ่มเด่นคือหญ้า - ฤดูหนาวอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 0 องศาเซลเซียส ในฤดูร้อน อากาศร้อนและชื้นโดยอุณหภูมิอาจสูงถึง 35 องศาเซลเซียส 5. มีพืชพรรณที่มีใบกว้าง - สามารถแบ่งเป็น 4 ฤดูได้ชัดเจน คือ ฤดูร้อน ฤดูใบไม้ร่วง ฤดูหนาว ฤดูใบไม้ผลิ - มีอากาศหนาวเย็น มีฤดูหนาวยาวนาน มีอุณหภูมิเฉลี่ย ต่ำกว่า -10 องศาเซลเซียส 6. - มีพืชพรรณที่ใบมีลักษณะคล้ายเข็มพืชส่วนใหญ่ไม่ผลัดใบ - มีช่วงฤดูหนาวยาวนาน มีฤดูร้อนช่วงสั้น ๆ ประมาณ 2 เดือน 7. ไม่มีต้นไม้ขนาดใหญ่ น้ำใต้ผิวดินจับตัวแข็งอยู่ตลอดเวลา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนิด ตัวอย่าง ไบโอม สิ่งมีชีวิต

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ชาวยหน่อยครับ

6.แก๊สไฮโดรเจน 5 โมล ปริมาตร 8200 ลูกบาศก์เซนติเมตร ที่ 27 องศาเซลเซียส จะมีความดันบรรยากาศ 7.แก๊สชนิดหนึ่งหนัก 3.20 กรัม มีปริมาตร 2.00 ลูกบาศก์เดซิเมตร ที่ 27 องศาเซลเซียส ความดัน 0.5 atm แก๊สนี้มีมวลโมเลกุลเท่าใด 11.แก๊สไฮโดรเจน 2 โมล แก๊สออกซิเจน 4 โมล และแก๊สฮีเลียม 6 โมล ผสมกันอยู่ในถังปริมาตร 5 ลิตร ที่ อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส จงหาความดันรวมและความดันของแก๊สออกซิเจน ตามลำดับ 12. ถ้าผสมแก๊สฮีเลียม 4 กรัม และแก๊สอาร์กอน 8 กรัม ในภาชนะขนาด 10 ลิตร ที่อุณหภูมิ 25 องศา เซลเซียส ความดันของแก๊สผสมเป็นบรรยากาศ (กำหนด มวลอะตอมของ He=4,Ar=40) 13. แก๊สใดมีอัตราการแพร่เป็น 3 เท่าของอัตราการแพร่ของไอน้ำ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ฟิสิกส์ มัธยมปลาย

ช่วยแสดงวิธีทำให้ดูหน่อยครับ

ถ้าเราวัดอุณหภูมิแบบฟาเรนไฮต์ได้ ๑๐ องศา เราจะวัดอุณหภูมิแบบเซลเซียส และเคลวินได้เท่าใด ( ๔ คะแนน ) 2. จงหาความร้อนที่ใช้ในการทำให้น้ำแข็ง 400 กรัม ๑ องศาเซลเซียส กลายเป็นไอน้ำที่ ๑๐๐ องศาเซลเซียส หมดพอดี 3. จงหาความร้อนที่ใช้ในการทำให้น้ำแข็ง 400 กรัม อุณหภูมิ 10 °C กลายเป็นไอน้ำเดือดที่ ๑๐๐ ปี หมดพอดี 4. นำก้อนทองแดงมวล 10 กิโลกรัมที่ ๘๐ C ใส่ลงในน้ำแข็งมวล 150 กรัม จงหาอุณหภูมิสุดท้ายของการผสม กําหนดให้ c (ทองแดง) 0.1 cal/g.C 5.กระป๋องทองแดง 500 กรัม ใส่น้ำแข็งมวล 1000 กรัม เติมน้ำร้อน ๑๐๐ C ลงไป 150 กรัม จงหาอุณหภูมิ สุดท้าย หลังการผสม

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ฟิสิกส์ มัธยมปลาย

ช่วยอธิบายให้ด้วยนะคะ ตอนนี้เครียดมากค่ะ

เอกสารการเรียนการสอนวิชา ฟิสิกส์ 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 6. อลิซต้องการดื่มชาเย็น เขาจึงเทชา น้ำตาล และนมผสมในน้ำร้อน ได้ปริมาณชาที่ปรุงแล้ว 1 แก้ว (250 cm มีอุณหภูมิ 50°C เพื่อที่จะทำให้น้ำชานี้เย็นลง เขาจึงเติมน้ำแข็งที่อุณหภูมิ 0°C ลงไปจำนวน 200 กรัม ถ้ อุณหภูมิผสมเป็น 0°C พอดี ถามว่ามีน้ำแข็งเหลืออยู่กี่กรัม กำหนดให้ ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำชา = 4 kJ/kgK ความหนาแน่นของน้ำชาที่อุณหภูมิใดๆ = 1,000 kg/m M = 950 = ความร้อนแฝงของการหลอมเหลวของน้ำแข็ง = 312.5 kJ/kg (ไม่มีการสูญเสียพลังงานความร้อนให้กับภาชนะหรือสิ่งแวดล้อม)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ฟิสิกส์ มัธยมปลาย

ข้อนี้ทำยังไงเหรอคะ ขอวิธีทำด้วยนะคะ

**** งวธทาอย่างละเอียด 2 sec ******* ** 375 m. Vสั่ง > Vu30 1. รถไฟขบวนหนึ่งเริ่มเคลื่อนที่บนรางตรงเข้าสู่ชานชาลา พร้อมกับเปิดหวูดรถไฟ ขณะเดียวกันเสียงเสียดสี ระหว่างล้อเหล็กกับรางเหล็กก็ถูกส่งผ่านรางเหล็กด้วยอัตราเร็วที่สูงกว่าเสียงหวูดรถไฟที่อุณหภูมิปกติ อัตราเร็วเสียงในเหล็กมีค่าประมาณ 5000 เมตร/วินาที และอัตราเร็วเสียงในอากาศมีค่าประมาณ 350 เมตร/ วินาที ถ้าเรายืนอยู่ที่ชานชาลาและได้ยินเสียงหวูดรถไฟ หลังจากที่ได้ยินเสียงจากรางเหล็กแล้ว 2 วินาที ขณะ เปิดหวูด รถไฟขบวนดังกล่าวอยู่ห่างจากชานชาลาเป็นระยะทางเมตร สา

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

สอบถามวิชาเคมีหน่อยนะคะ

แคลองดอก บทที่ 3 พันธะเคมี คำชี้แจง : จงตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง 1. จงบอกความสามารถในการละลายน้ำของสารประกอบไอออนิกต่อไปนี้ สารประกอบไอออนิก จอที 1) 2) 3) 4) 5) 6) 7) 8) 9) 10) 11) 12) 13) 14) 15) 16) 17) ใบงาน วิชาเคมี ชั้น ม.4 223888322 KI PbSO4 Ca(OH)2 LINO3 CaBr₂ NHẠC FeS Ag3PO4 CaCO3 MgO CH₂COOAg KCIO3 Ag₂SO4 Be(OH)2 K.POA SrSO4 AgCl Pbl₂ LI₂CO3 NH₂S CaO Cu(CIO4)2 BaSO4 Na₂CO Hg₂I2 PbCl₂ เรื่อง สมการไอออนิกและสมการไอออนิกสุทธิ ชื่อ น.ส.อาคัมย์สิร์ นาคประสาน จะสามา ความสามารถในการละลายน้ำ ละลายนา Rt an Name ละลายน้ำ ละลาย ไม่สาม ละลายน้ำ ละลานา ออกและสมการโอยอนิกสุทธิ nemenda กะลามหา ไม่ละลาย nemsan ชั้น 4 เลขที่ 25

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/29