ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

เคมี มัธยมปลาย

ใครพอจะทำได้มั้ยคะ 🥺

ชื่อ - สกุล เลขที่ 1.6 เมื่อธาตุสมมติ Y เกิดเป็นไอออน จะมีประจุเป็นเท่าไรจึงเสถียร จงเขียนแสดงคำตอบในรูปของ สัญลักษณ์นิวเคลียร์ พร้อมระบุจำนวนอนุภาคมูลฐานของไอออน และเขียนแสดงการจัดเรียง อิเล็กตรอนแบบแผนภาพออร์บิทัลที่ใช้ก๊าซเฉื่อยเป็นแกนของไอออนที่เกิดขึ้น ตอบ (2 คะแนน) 1.7 เมื่อธาตุสมมติ X เกิดเป็นสารประกอบตามกฎ Octet กับธาตุ Chlorine(Cl) ให้นักเรียนเขียนสูตร เคมี อ่านชื่อ เขียนสูตรแบบจุด สูตรแบบเส้น รูปร่างโมเลกุลพร้อมระบุรูปทั่วไปของ VSEPR ระบุ สภาพขั้วของพันธะและสภาพขั้วของโมเลกุล พร้อมระบุแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล รวมถึง ประโยชน์และโทษของสารประกอบดังกล่าว (10 คะแนน) ตอบ 1.8 เมื่อธาตุสมมติ Y เกิดเป็นสารประกอบตามกฎ Octet กับธาตุ Fluorine(F) ให้นักเรียนเขียนสูตร เคมี อ่านชื่อ เขียนสูตรแบบจุด เขียน Born Haber Cycle เขียนสมการการละลายน้ำ รวมถึง ประโยชน์และโทษของสารประกอบดังกล่าว เมื่อนำสารประกอบดังกล่าวไปทำปฏิกิริยากับ AgNo,(aq) ให้นักเรียนเขียนสมการไอออนิกสุทธิแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น (15 คะแนน) ตอบ

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 4
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ

4. แรงยึดเหี่ยวซึ่งเกิดขึ้นระหว่างโมเลกุลของสารประกอบโคเวเลนต์ได้แก่แรงชนิดใดบ้าง และแรงต่าง ๆ มีลักษณะ อย่างไร 5. พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ข้อใดถูกเขียนเครื่องหมาย / หรือข้อใดผิดเขียนเครื่องหมาย X สาเหตุที่ทำให้จุดเดือดและจุดหลอมเหลวของสารประกอบโคเวเลนซ์ต่ำ เพราะ แรงยึดเหนี่ยวระหว่าง โมเลกุลต่ำ สารประกอบโคเวเลนต์นำไฟฟ้าในสถานะแก๊สเท่านั้น สารประกอบโคเวเลนต์มีทิศทางของพันธะไม่แน่นอน แต่มีรูปร่างโมเลกุลแน่นอน การเกิดปฏิกิริยาของสารประกอบโคเวเลนต์จะเกิดขึ้นอย่างช้า ๆ สารประกอบโคเวเลนต์ส่วนใหญ่ละลายน้ำได้น้อย สารโคเวเลนต์ไม่มีขั้ว จะมีจุดเดือดจุดหลอมเหลวต่ำ ๆ เพราะโมเลกุลยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงลอนดอน อย่างเดียวเท่านั้น โครงสร้างเป็นโครงผลึกร่างตาข่าย เช่น เพชร แกรไฟต์ จะมีจุดเดือดจุดหลอมเหลวสูง

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ สอบถามผู้รู้ค่ะ

ใบงาน เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ 1. จงขีดเส้นใต้คำที่อยู่ในวงเล็บที่ทำให้ข้อความต่อไปนี้มีความถูกต้อง พันธะโคเวเลนต์เกิดจากการรวมตัวของอะตอมของธาตุต่าง ๆ ระหว่างอโลหะกับ (โลหะ/อโลหะ) โดย เกิดการใช้อิเล็กตรอนร่วมกันเป็นคู่ ๆ เมื่ออะตอมของธาตุใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน จะทำให้อะตอมมีความ (เสถียร/อิสระ) มากขึ้น การที่อะตอมจะมี มีลักษณะดังกล่าวได้ (เวเลนซ์อิเล็กตรอน/อิเล็กตรอน) ต้องมีค่า เท่ากับ 8 เหมือน (ธาตุแฮโลเจน/แก๊สเฉื่อย) โดยการรวมกันเป็นโมเลกุลของธาตุ อะตอมของธาตุจะเคลื่อนที่เข้า มาใกล้กันทำให้เกิด (แรงผลัก/แรงดึงดูด) ระหว่างอิเล็กตรอนของอะตอมหนึ่งกับอิเล็กตรอนของอีกอะตอมหนึ่ง และเกิด (แรงผลัก/แรงดึงดูด) ระหว่างอิเล็กตรอนอะตอมหนึ่งกับโปรตอนในนิวเคลียสของอีกอะตอมหนึ่ง ซึ่ง เมื่ออะตอมทั้งสองเคลื่อนที่เข้ามาใกล้กันมีระยะห่างระหว่างนิวเคลียสมีความเหมาะสมในการเกิดพันธะ พบว่า แรงดึงดูดมีค่าเท่ากับแรงผลักทาให้พลังงานศักย์ของอะตอมมีค่า (ลดลง/เพิ่มขึ้น) 2. พันธะโคเวเลนต์ มีกี่ชนิด อะไรบ้าง ยกตัวอย่างประกอบ 3. จงเขียนสูตรโมเลกุลของสารประกอบโคเวเลนต์ต่อไปนี้ สูตรโมเลกุล ไดไนโตรเจนไตรออกไซด์ ฟอสฟอรัสเพนตะคลอไรด์ คาร์บอนมอนอกไซด์ ไดฟอสฟอรัสเพนตะออกไซด์ ไนโตรเจนไตรคลอไรต์

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
ภาษาไทย มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยนะคะ

๑๑) เสียงในภาษาไทย หมายถึงข้อใด ก. เสียงสูง เสียงกลาง เสียงต่ำ ค. เสียงสามัญ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี เสียงจัตวา ง. เสียงพยัญชนะต้น เสียงพยัญชนะควบ เสียงพยัญชนะสะกด ๑๒) ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ก. สระมีทั้งหมด ๒๑ รูป ๓๒ เสียง (ตำราเดิม) ข. สระมีทั้งหมด ๒๑ รูป ๒๑ เสียง (ตำราเดิม) ค. พยัญชนะมีทั้งหมด ๔๔ รูป ๒๑ เสียง ๑๓) ข้อใดมีสระเสียงสั้นทุกพยางค์ ก. น้ำแข็ง น้ำใจ น้ำเชื่อม น้ำมัน ข. เสียงพยัญชนะ เสียงสระ เสียงวรรณยุกต์ ง. วรรณยุกต์มี ๔ รูป ๕ เสียง ข. นงนุช นงเยาว์ นงคราญ นงลักษณ์ ง. นพเก้า นพคุณ นพเคราะห์ นพรัตน์ ข. นมข้น นมผง นมสด นมกล่อง ๑๔) ข้อใดมีเสียงสระประสมมากที่สุด ก. หลอก แทรก ปลวก ป่วน ข. เชิง เชื่อม ไข ม้วน ค. บวม เรียง กลัว เปลือก ๑๕) คำในข้อใดออกเสียงพยัญชนะต้นเสียง / ช / มากที่สุด ง. กวน อ้อน เปียก รำ ก. ฉาบ ฌาน เฉียด เฌอ ข. เสริม ไซร้ ฌาน เฌอ แทรก แสร้ง เฌอ ทราบ ง. สฤษฎ์ เฉือน โฉม ทรง ค. ๑๖) คำว่า "ข้าว" ในข้อใดออกเสียงสั้น ก. ข้าวเย็นแล้วต้องเอาไปนึ่งใหม่ ค. เราต้องนึกถึงข้าวแดงแกงร้อนของเขา ข. ข้าวสวยดีน่าจะเก็บไว้ทำพันธ์ ง. ข้าวเหนียวมากคงจะกินไม่อร่อย ๑๗) จากคำต่อไปนี้ "นพ , ดุจ กัน เทียบ" มีเสียงวรรณยุกต์เรียงตามข้อใด ก. สามัญ ตรี โท เอก ค. สามัญ เอก โท ตรี ๑๘) คำในข้อใดมีโครงสร้างของพยางค์เหมือนกันทุกคำ ข. ตรี สามัญ เอก โท ง. ตรี เอก สามัญ โท ก. เล่ห์ มาร ร้าย กล ข. ใน น้ำ ปลา นา ค. แดง แต่ง เติม แก้ม ง. จันทร์ เท่ห์ วัลย์ เสาร์ ๑๙) คำในข้อใดเป็นพยางค์ปิดทุกคำ ก. ท้าย สุด ฉัน คือ ข. ที่ ห้า นา ใน ค. อย่าง ไร เธอ มา ง. บ้าน ทุ่ง น้อง นาง ๒๐) ข้อใดใช้วัจนภาษา ก. เธออ่านนวนิยายแล้วชอบเล่าให้เพื่อนฟัง ค. นักเรียนในชั้นเงียบทันทีเมื่อครูจ้องหน้า 4. ทุกครั้งที่ฟังเพลงตลกพวกเขาจะหัวเราะทันที ข. เขายิ้มด้วยความพอใจเมื่อได้รับชัยชนะ

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหนูหน่อยนะคะ

1:50 อ. 20 ก.ค. 50% < BB Q A า แบบฝึกหัดเรื่องน้ำ + สารประกอบคาร์บอนในสิ่งมีชีวิต โครงสร้างของน้ำ แบบฝึกหัดเรื่องน้ำ ให้นักเรียนเขียนอักษร 7 หน้าข้อที่ถูก และเขียน F หน้าข้อความที่ผิด พร้อมทั้งแก้ไขข้อความนั้นให้ถูกต้อง .1. น้ำชาวยหล่อลื่นอวัยวะต่างๆ เช่น ดวงตา ข้อต่อ ช่องท้อง เยื่อหุ้มปอด หัวใจ 2. สูตรโมเลกุลของน้ำ คือ H,0, ซึ่งอะตอมของไฮโดรเจนและออกซิเจนยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะไอออนิก .3. ในร่างกายมนุษย์มีน้ำอยู่ประมาณร้อยละ 65 ของน้ำหนักตัว 4. โมเลกุลของน้ำมีสมบัติความเป็นกรดและเบสในตัวเดียวกัน .5. สารชอบน้ำเป็นสารที่มีโมเลกุลแบบไม่มีชั้ว ส่วนสารที่ไม่ชอบน้ำเป็นสารที่มีโมเลกุลแบบมีขั้ว .8. ความจุความร้อนของน้ำ เท่ากับ 4.814 จูล/กรัม/องศาเซลเซียส หมายถึง การที่จะทำให้น้ำ 1 กรัม มีอุณหภูมิ ลดลง 1 องศาเซลเซียส จะต้องใช้พลังงานความร้อนเท่ากับ 4.814 จูล .7. ไอโอดีนพบมากในเนื้อสัตว์ นม ไข่ ผักและผลไม้ทุกชนิด 8. โรคโลหิตจางเกิดจากการขาดธาตุฟอสฟอรัส .9. ธาตุเหล็กเป็นส่วนประกอบของเอนไซม์บางชนิดและฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง 10. แคลเซียมและฟอสฟอรัสมีบทบาทเกี่ยวข้องกับความแข็งแรงของกระดูกและพัน : บ

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
1/3