ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

ฟิสิกส์ มัธยมปลาย

รบกวนช่วยหน่อยนะคะ ขอบคุณล่วงหน้าค่า🥹🙏

! 20:57 น. 4. ภาพเสมือน ขนาดเล็กกว่าวัตถุ ข้อใดถูกต้อง 1, 2และ 3 1 และ 3 2และ 4 8. ทันตแพทย์ใช้เครื่องมือตรวจฟันที่เป็นก ระจกเงาเว้า ตรวจดูฟันภายในช่องปาก จะ เห็นเป็นภาพเสมือน ขนาดขยาย เมื่อใด @ 4G all vill มีระยะวัตถุ มากกว่าทางยาวโฟกัสของ กระจกเงาเว้า มีระยะวัตถุ น้อยกว่าทางยาวโฟกัสของ กระจกเงาเว้า มีระยะวัตถุ เท่ากับทางยาวโฟกัสของ กระจกเงาเว้า วางกระจกเงาเว้าชิดกับฟันที่จะตรวจ โฟด้วดเองจรขอดมาโลงได้ลดต้อง ||| 9. วางวัตถุไว้หน้ากระจกเงาโค้งเป็นระยะ 30 * เซนติเมตร ให้เกิดภาพหัวตั้งขนาดใหญ่กว่า วัตถุ 2 เท่า ข้อใดกล่าวถึงชนิดและความยาว = > 100% * 0

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ฟิสิกส์ มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยนะคะทำไม่ได้เลยค่ะ 🥹

ข้อมูลเบื้องต้น ข้อสอบประจําวันที่ 30/09/66 เด็กคนหนึ่งเตะลูกฟุตบอลขนาดเล็กมวล 100 กรัม ที่วางนิ่งอยู่บนพื้นสนามให้ลอยขึ้นโดยทำมุมค่าหนึ่ง โดยตอนเริ่มลอยขึ้น จากพื้น มีพลังงานจลน์ 80 จูลและมีพลังงานกล 80 จูล จงแสดงวิธีทำและตอบคำถามต่อไปนี้ มีทั้งหมด 6 ข้อ) โดยใช้ข้อมูลเบื้องต้นของโจทย์ในด้านบน เพื่อมาพิจารณาประกอบ คำถามที่ 1 ในตอนที่ลูกฟุตบอลเริ่มลอยขึ้นจากพื้นสนาม จงหาว่า ลูกฟุตบอลดังกล่าวมีอัตราเร็วลัพธ์เมตรต่อวินาที คำถามที่ 2 เมื่อลูกฟุตบอลขึ้นไปถึงจุดสูงสุด พลังงานศักย์ของลูกฟุตบอลที่จุดสูงสุดเท่ากับ 51.2 จูล จงหาว่า พลังงานจลน์ของ ลูกบอลจะเหลือกี่จูล (สมมติว่าไม่มีการสูญเสียพลังงานให้กับแรงต้านอากาศขณะที่ลูกฟุตบอลลอยขึ้น) คำถามที่ 3 จากคำถามข้อที่ 2 จงหาว่า เมื่อลูกฟุตบอลขึ้นไปถึงจุดสูงสุด ลูกฟุตบอลดังกล่าวจะมีอัตราเร็วลัพธ์เมตรต่อวินาที คำถามที่ 4 จากคำถามข้อที่ 1 และข้อที่ 3 อยากทราบว่า ในตอนที่ลูกฟุตบอลเริ่มลอยขึ้นจากพื้นสนาม จงหาว่า ลูกฟุตบอล ดังกล่าวมีอัตราเร็วย่อยในแนวแกนดิ่ง (แกน y) เท่ากับกี่เมตรต่อวินาที คำถามที่ 5 จากคำถามที่ 2 อยากทราบว่า ลูกฟุตบอลขึ้นไปได้สูงสุดกี่เมตร จากพื้นดิน กำหนดให้ใช้ค่า g เท่ากับ 10 m/s) คำถามที่ 6 ในตอนที่ลูกฟุตบอลเริ่มลอยขึ้นจากพื้นสนาม จงหาว่า ลูกฟุตบอลดังกล่าวลอยขึ้นโดยทำมุมองศา เมื่อเทียบกับ แนวแกนนอน (แกน x) TEST from HOME 2

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ฟิสิกส์ มัธยมปลาย

ช่วยอธิบายให้ด้วยนะคะ ตอนนี้เครียดมากค่ะ

เอกสารการเรียนการสอนวิชา ฟิสิกส์ 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 6. อลิซต้องการดื่มชาเย็น เขาจึงเทชา น้ำตาล และนมผสมในน้ำร้อน ได้ปริมาณชาที่ปรุงแล้ว 1 แก้ว (250 cm มีอุณหภูมิ 50°C เพื่อที่จะทำให้น้ำชานี้เย็นลง เขาจึงเติมน้ำแข็งที่อุณหภูมิ 0°C ลงไปจำนวน 200 กรัม ถ้ อุณหภูมิผสมเป็น 0°C พอดี ถามว่ามีน้ำแข็งเหลืออยู่กี่กรัม กำหนดให้ ความจุความร้อนจำเพาะของน้ำชา = 4 kJ/kgK ความหนาแน่นของน้ำชาที่อุณหภูมิใดๆ = 1,000 kg/m M = 950 = ความร้อนแฝงของการหลอมเหลวของน้ำแข็ง = 312.5 kJ/kg (ไม่มีการสูญเสียพลังงานความร้อนให้กับภาชนะหรือสิ่งแวดล้อม)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/42