ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ ต้องส่งพน.แล้ว🙏🙏

nit Questions 1 DA 1. การงอกขาใหม่ของซาลาแมนเดอร์จัดเป็นการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศหรือไม่ อย่างไร 2. เพราะเหตุใดไส้เดือนดินจึงไม่สามารถผสมพันธุ์ในตัวเองได้ ถึงแม้ว่าจะมี 2 เพศ ในตัวเดียวกัน 3. จงอธิบายกระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศชายและเซลล์สืบพันธุ์เพศหญิง ( 4. พิจารณาภาพที่ 1.34 แล้วตอบคําถามต่อไปนี้ คําชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ ก) รูปร่างของสเปิร์มเหมาะสมต่อการทำหน้าที่ ข) อะโครโซมที่ส่วนหัวของสเปิร์มคืออะไร และมี S 4 ภาพที่ 1.34 สเปิร์ม ที่มา : คลังภาพ อจท. 5. พิจารณาภาพที่ 1.35 แล้วตอบคำถามต่อไปนี้ อย่างไร ความสําคัญอย่างไร 4 ภาพที่ 1.35 การเปลี่ยนแปลง ของเซลล์ไปในแต่ละรอบเดือน ที่มา : คลังภาพ อจท. ก) ลูทิไนซึ่งฮอร์โมนมีผลต่อการเกิดกระบวนการหมายเลขใด อย่างไร ข) หมายเลข 1 และหมายเลข คือโครงสร้างใด มีลักษณะแตกต่างกันอย่างไร ค) หมายเลข 2 คือโครงสร้างใด และมีการเปลี่ยนแปลงในแต่ละรอบเดือนอย่างไร การสืบพันธุ์และ 33 การเจริญเติบโตของสัตว์

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

สรุปพันธุสาสตร์ ให้น้อนๆ

ศึกษาการถ่ายทอดลักษณะสู่รุ่นลูก โดยประกอบด้วยหลายลักษณะ ได้แก่ ศาสตร์ นักบวชชาวออสเตรีย ได้ทดลองผสมพันธุ์ ถั่วลันเตา (Pisum sativum) เพื่อ เกรเกอร์ โยฮัน เมนเดล (Gregor Johann Mendel) บิดาแห่งวิชาพันธุ คือ วิชาที่ศึกษาการถ่ายทอดลักษณะของสิ่งมีชีวิตจากรุ่นสู่รุ่น หรือที่ บทที่ 1 พันธุศาสตร์ พันธุศาสตร์ (Genetics) 1 เรียกว่า ลักษณะทางพันธุกรรม การเริ่มต้นศึกษาวิชาพันธุศาสตร์ A 1. ความสูงของลำต้น 4 2 รูปร่างของฝัก F 4. สีของเมล็ด ศึกษาการถ่ายทอดลักษณะสู่รุ่นลูก โดยประกอบด้วยหลายลักษณะ ได้หล่า พ 3. รูปร่างของเมล็ด A 6. สีของดอก พ5. ตำแหน่งของดอก F 7. สีของฝัก เลือกพันธุ์พ่อแม่ ผสมภายในดอกเดียวกัน รุ่นของสิ่งมีชีวิตที่ศึกษา (Self-pollination) รุ่นพ่อแม่ ..Parental.seneration : P) การผสมข้าม (Cross-pollination) รุ่นลูก ( First Filial generation : F, ) การผสมภายในดอกเดียวกัน (Self-pol(ination) รุ่นหลาน (Second Filial generation : F3 เอกสารฉบับนี้จัดทำเนื่อผลประโยชน์ทางการศึกษา ห้ามมิให้บุคคลใดดัดลอก ทำซ้ำ เสียนแบบ แก้ไขด้ดแปลง หรือ กระทวง เป็นการแส้วงหาผลประโยชน์ทางการด้า โดยไม่ได้รับการอนุญาตเป็นลาบลักษณ์อักษร จากทางบริษัท เสริมปัญญา จำกัด ู้โด้ละเดล ถูกดำเนินคดีตามกฎหมาย

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

สอบถามค่ะชีววิทยา อยากถามโจทย์ข้อ 1.1 หน่อยค่ะว่ามันคืออะไรคะแล้วทำยังไงขอแนวทางหน่อยค่ะพอดีจะสอบแต่ไม่รู้ว่าข้อ 1.1 ทำยังไง

แบบฝึกหัดทบทวนเตรียมสอบ 1. จากภาพพลาสมิตที่มีตำแหน่งตัดของเอนไซม์ตัดจำเพาะ B00 bp 200.bg 300 bp ( Hindl Pst EcoRl 600 bp EcoRl Pst BamHI 00 bp 250 bp 350 tp 1.1 ถ้าพลาสมิดนี้ถูกตัดด้วยเอนไซม์ ECORI ร่วมกับ Sall ให้นักเรียนวาดภาพชิ้นส่วนของพลาสมิดหลังถูก ตัดแล้ว พร้อมระบุขนาดของชิ้นส่วนนั้นว่ามีขนาดเท่ากับกี่ bp 1.2 แบคทีเรียที่มีพลาสมิดด้านบนนี้ เมื่อเกิดการตัดที่ตำแหน่ง Sall แล้ว ยีน tet จะยังสามารถทำงานได้ อยู่หรือไม่ 2. หาความถี่แอลลีสและความถี่จีโนไทป์ 2.1 ประชากรปลาสวายในบึงมีทั้งหมด 500 ตัว จำนวนปลาที่มีจีโนไทป์ FF 200 ตัว และ Ff 55 ตัว จังหา - ความถี่จีโนไทป์ FF - ความถี่จโนไทป์ FF - ความถี่จีโนไทป์ ff 2.2 จังหวัดพิษณุโลกมีต้นกล้วยหอม 2400 ต้น ในประชากรนี้มีต้นกล้วยหอมต่าง (pp) 20 ต้น และต้น กล้วยหอมไม่ต่าง (PP/Pp) 2380 ต้น ซึ่งเป็นกล้วยหอมไม่ต่างแบบฮอมอไซกัสจำนวน 1200 ต้น และแบบเฮเทอโร ไซกัส 1180 ต้น จงหา - ความถี่แอลลีล P - ความถี่แอลลีล p - ความถี่จโนไทป์ PP

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

อยากรู้ว่ามีวิธีคิดหรือดูแบบไหนคะ ช่วยหาคำตอบหน่อยนะคะ ขอบคุณมากๆค่ะ

50 70 70 ผลิตภัณฑ์ สารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์ สารตั้งต้น การคำเนินไปของปฏิกิริยา A การดำเนินไปของปฏิคิริยา B 1. ปฏิกิริยา A เป็นปฏิกิริยา.. .(1 คะแนน) 2. พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยา A มีค่าเท่ากับ .(1 คะแนน) 3. สารตั้งต้นในปฏิกิริยา A ต้อง (ดูด / คาย) พลังงาน เท่ากับ ถึงจะเปลี่ยนเป็นผลิตภัณฑ์ได้ (1 คะแนน) 4. ปฏิกิริยา B เป็นปฏิกิริยา (1 คะแนน) 5. พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยา B มีค่าเท่ากับ (1 คะแนน) 6. สารตั้งต้นในปฏิกิริยา B ต้อง (ดูด / คาย) พลังงาน เท่ากับ.. ถึงจะเปลี่ยนเป็นผลิตภัณฑ์ได้ (1 คะแนน) พลังงาน (kJ/m.o) พลังงาน(kI/m p

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
ชีววิทยา มัธยมปลาย

รบกวนหน่อยครับ

21:21 น. 73% การตกไข่ 57. เมื่อนำเลือดหญิงตั้งครรภ์ 5 เดือน ไปตรวจจะพบระดับฮอร์โมนตามข้อใด ระดับสูง ระดับต่ำ 1. LH E FSH P 2. FSH E LH P น. 3. LH P FSH E P LH E E = estrogen 4. FSH P FSH P = progesterone 5. LH E 58. สารและฮอร์โมนในข้อใดเกี่ยวข้องกับตับอ่อนและตับของคน 1. ก = กลูโคส, ข = ไกลโคเจน, ค = อินซูลิน, ง = กลูคากอน 2. ก = ใกลโคเจน, ข = กลูโคส, ค = อินซูลิน, ง = กลูคากอน 3. ก = ไกลโคเจน, ข = กลูโคส, ค = กลูคากอน, ง = อินซูลิน 4. ก = กลูโคส, ข = ไกลโคเจน, ค = กลูคากอน, ง = อินซูลิน 5. ก = ไกลโคเจน, ข = กลูโคส, ค = อินซูลิน, ง = คอร์ติซอล | น้ำตาลในเลือดสูงขึ้น ระดับน้ำตาลในเลือดสูง ตับออนส น้ำตาลในเลือดต่ำลง ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ 59. เมื่อนำปัสสาวะของนางมะลิมาทดสอบกับสารละลายเบเนดิกต์ แล้วนำไปต้มจนเดือดได้ตะกอนสีอิฐของ Cu,0 แสดงว่านางมะลิขาดฮอร์โมนชนิดใด 1. อินซูลิน 4. คอร์ติซอล 3. โพรเจสเทอโรน 2. กลูคากอน 5. แอนติไดยูเรติกฮอร์โมน (ADH) 60. ในการสังเคราะห์อินซูลินของเซลล์ตับอ่อน จะมีการทำงานร่วมกันของออร์แกเนลล์ตามลำดับขั้นตอนคาม ข้อใด ข. เอนโดพลาสมิกเรติคิวลัม ค. กอลจิบอดี ก. นิวเคลียส ง. ไลโซโซม จ. ไรโบโซม 3. ก * ค -+ ข +ง 1. จ %ข * ค ง 2. จ *ข *ง * ค 4. ก + ป * ข * ค 5. ก + ป + ข * ค *ง จากผลการวัดระดับน้ำตาลในเลือดของนาย ก. 61. และนาย ข หลังจากรับประทานอาหารประเภท คาร์โบไฮเดรต เปรียบเทียบกับนาย ค ขณะว่ายน้ำ 200F 150 ถ้านาย ก และนาย ข ออกกำลังกายโดยว่ายน้ำ อย่างหนักเหมือนนาย ค ระดับน้ำตาลในเลือด 100 50 0 0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0 3.5 4.0 ควรเป็นอย่างไร ช่วงเวลาหลังจากรับประทานอาหาร (ชม.) 1. ก> ค > ข น 2. ก > ข > ค 3. ก = ข = ค 4. ภ ใกล้เคียงกับ ข แต่สูงกว่า ค. 5. ข ใกล้เคียงกับ ค แต่ต่ำกว่า ก. 62. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับกลไกการออกฤทธิ์ของฮอร์โมน ก. ตัวรับฮอร์โมนพวกโปรตีนและสเตอรอยด์จะอยู่ที่ตำแหน่งต่างกันของเซลล์ ข. ฮอร์โมนพวกเพปไทด์และเอมีนสามารถผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้ ค. ฮอร์โมนพวกสเตอรอยด์เกี่ยวข้องกับตัวนำข่าวสารตัวที่สอง 1. ข้อ ก 2. ข้อ ข 3. ข้อ ก และ ข 4. ข้อ ข และ ค 5. ข้อ ก, ข และ ค 63. ไต ต่อมไทรอยด์ และต่อมพาราไทรอยด์ ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมควบคุมการทำงานในข้อใดร่วมกน 1. ปริมาณน้ำตาลในเลือด 4. การเจริญเติบโตของร่างกาย 2. ความดันเลือด 3. ปริมาณแคลเซียมไอออนในเลือด 5. ปริมาณ Na, K', CI ในเลือด ถ้าตัดอวัยวะ A ออกจะไม่มีผลกระทบต่อข้อใด 1. การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด 64. ระดับน้ำตาลในเลือด (mg/100 cm)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

รบกวนหาคำตอบให้หน่อยค้า

แบบทดสอบ TU142 : DNA และการถ่ายทอดพันธุกรรม (15 คะแนน) 1. จากประวัติภายในครอบครัวหนึ่งดังแสดงตามรูป เป็นโรคชนิดหนึ่งที่ถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม ผ่านโครโมโซมร่างกายที่เป็นลักษณะเด่น (autosomal dominant disease) โดยกำหนดให้ B คือ ลักษณะยืนเด่น b คือ ลักษณะยืนด้อย I II KEY Aftected Wild Type Afftected Fenale Wld Type Female Male Male คำถาม a. สัญลักษณ์ทางพันธุกรรม (genotype) ของผู้หญิง A คืออะไร (2 คะแนน) b. หากผู้หญิง A ไปแต่งงานกับผู้ชายที่ไม่เป็นโรคนี้ (ปกติ) ลูกที่เกิดขึ้นจะมีลักษณะทางพันธุกรรม (genotype) อย่างไรบ้าง (2 คะแนน) และลูกที่เกิดขึ้นจะมีอาการของโรคนี้หรือไม่ (2 คะแนน)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/2