ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ🙏🏻💞

ชื่อ ทดสอบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกรดนิวคลีอิก คาสั่งที่ 2 พิจารณาข้อมูลที่กาหนดให้ต่อไปนี้ แล้วขีดถูกหน้าข้อที่ถูก และขีดผิดหน้าข้อที่ผิด 1. กรดนิวคลีอิกมีสารเป็นน้าตาลไรโบส เบสอินทรีย์ และหมู่ฟอสเฟต 2. พลลีนิวคลีโอไทน์มีสารองค์ประกอบเป็นประกอบน้าตาลดีออกซีไรโบส เบสอินทรีย์ และหมู่ 3. นิวคลีโอไซด์มีสารองค์ประกอบเป็นน้าตาลไรโบส เบสอินทรีย์ และหมู่ฟอสเฟต 4. RNA เป็นฟอสเฟตเอสเทอร์ของนิวคลีโอไทด์สายเดี่ยว 5. เบสที่พบใน RNA คือ อะดีนีน กวานีน ไซโตซีน ไทมีน และยูราซิล 6. DNA พบในนิวเคลียสเท่านั้น ส่วน RNA พบในไซโทพลาซึมและนิวเคลียร์ 7. RNA ทาหน้าที่ควบคุมการสร้างโปรตีนไปทาหน้าที่ต่าง ๆ 8. ในนิวเคลียสของเซลล์จะพบแต่ DNA เท่านั้น 9. ในไซโทพลาซึมจะพบแต่ RNA ไม่พบ DNA 10. RNA และ DNA ทาหน้าที่ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม 11. เกลียวคู่ของสาย DNA ยึดเหนี่ยวกันตรงเบสด้วยพันธะไฮโดรเจน 12. เบสยูราซิลไม่พบใน RNA 13. เบสไทมีนไม่พบใน DNA 14. พอลินิวคลีโอไทด์เกิดจากนิวคลีโอไทด์มาเชื่อมต่อกันตรงตาแหน่งระหว่างหมู่ฟอสเฟตและน้าตาล 15. เบสไทนของสายพอลินิวคลีโอไทด์สายหนึ่งจะยึดเหนี่ยวกับเบสของสายพอลินิวคลีโอไทด์อีกสาย หนึ่งในเกลียวคู่ของ DNA ตรงตาแหน่งเบสอะดินีน 16. RNA เป็นฟอสเฟตเอสเทอร์ของนิวคลีโอไทด์สายเดี่ยว 17. เบสที่พบใน RNA คือ อะดีนีน กวานีน ไซโตซีน ไทมีน และยูราซิล 18. DNA พบในนิวเคลียสเท่านั้น ส่วน RNA พบในไซโทพลาซึมและนิวเคลียส 19. RNA ทาหน้าที่ควบคุมการสร้างโปรตีนไปทาหน้าที่ต่าง ๆ 20. RNA ประกอบด้วยอินทรีย์เบสคือ A U C G ส่วน DNA ประกอบด้วยอินทรีย์เบสคือ A TCG

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยได้มั้ยคะ คือตอนนั้นติดซ้อมกิจกรรมแล้วครูสั่งงานน🙏🏻🙏🏻

ชอ 1. นักเรียนสรุปความแตกต่างของโครงสร้าง DNA และ RNA ข้อเปรียบเทียบ แบบทดสอบ DNA 1.จำนวนพอลินิวคลีโอไทด์ 2. โครงสร้าง 3.ชนิดเบส 2. mRNA หมายถึง DNA 3. การสังเคราะห์ mRNA มีขั้นตอนอย่างไร 4. RNA พอลิเมอเรสมีบทบาทอย่างไรในการสังเคราห์ mRNA RNA 5. ในการสังเคราะห์ mRNA มีทิศทางจากปลาย 5 ไปยังปลาย 3 หรือจากปลาย 5 ไปยังปลาย 3 6. กระบวนการสังเคราะห์ mRNA จาก DNA แม่พิมพ์เรียกว่ากระบวนการอะไร 7. ให้นักเรียนเปรียบเทียบกระบวนการสังเคราะห์ DNA (DNA replication) และกระบวนการ สังเคราะห์ mRNA (transcription) 2 สาย กระบวนการสังเคราะห์ DNA 1. ใช้พอลินิวคลีโอไทด์ที่เป็นแม่พิมพ์ทั้ง 2 2.ใช้เอนไซม์ DNA พอลิเมอเรสในการสังเคราะห์ 3. ใช้ดีออกซีไรโบนิวคลีโอไทด์ 4 ชนิดคือ A TC G DNA สายใหม่ 2 สาย 4.ได้ กระบวนการสังเคราะห์ mRNA

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 2
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่า เป็นเรื่องพันธุกรรม (วิชาชีวะ)🥹

แบบฝึกหัดพันธุกรรม 1. ในการผสมพันธุ์ข้าวโพดเมล็ดสีเหลืองกับข้าวโพดเมล็ดสีขาว ปรากฏว่าได้รุ่นลูกที่มีเมล็ดสีเหลืองทั้งหมด ต่อมานำต้นข้าวโพดรุ่นลูกนี้ผสมกันเอง พบว่าในรุ่นต่อมา บางส่วนเป็นข้าวโพดเมล็ดสีเหลือง บางส่วนเป็น ข้าวโพดเมล็ดสีขาว แสดงว่าลักษณะใดเป็นลักษณะเด่นของข้าวโพดพันธุ์นี้ - 2. การผสมพันธุ์ถั่วต้นสูงที่เป็นเฮตเตอโรไซกัส กับถั่วต้นเตี้ย (กำหนด T = สูง t = เตี้ย) ลูกที่เกิดมาจะมีจีโนไทป์ (Genotype) กี่แบบ อย่างไรบ้าง 3. ถ้านำต้นถั่วฝักสีเขียวที่เป็นพันธุ์แท้ ผสมกับต้นถั่วฝักสีเหลือง (กำหนดให้ G = ผักสีเขียว g = ฝักสีเหลือง) จะได้ลูกที่มีฟีโนไทป์ (Phenotype) แบบ อย่างไรบ้าง 4. สิ่งมีชีวิตที่มีจีโนไทป์ AaBBCC จะสร้างเซลล์สืบพันธุ์ที่มีรูปแบบจีโนไทป์แตกต่างกันได้กี่แบบ อย่างไรบ้าง 5. ลักษณะดอกสีม่วง (A) และเมล็ดกลม (R) เป็นลักษณะเด่น ลักษณะดอกสีขาว (a) เมล็ดขรุขระ (1) เป็น ลักษณะด้อย เมื่อผสม AaRR X AaRr แล้วได้ลูกทั้งหมด 320 ต้น จะมีลูกพันธุ์ทางจำนวนเท่าไร 6. เด็กบางคนเกิดมาพร้อมกับลักษณะบางอย่างที่ถูกควบคุมโดยยีนด้อย เช่น ผมตรง สายตาสั้น เป็นต้น ทั้งที่ พ่อและแม่ไม่ปรากฏลักษณะเช่นนั้น จงอธิบายว่าเป็นเพราะเหตุใด 7. เด่นชัยเป็นคนที่มีลักยิ้ม ซึ่งเป็นลักษณะเด่น แต่พ่อของเด่นชัยไม่มีลักยิ้ม โอกาสที่ลูกสาวของเด่นชัยจะมีลักยิ้ม คิดเป็นร้อยละเท่าไร และภรรยาของเด่นชัยก็ไม่มีลักยิ้ม 8. แม่มีเลือดหมู่ 9 พ่อมีเลือดหมู่ AB ลูกของพ่อแม่คู่นี้จะมีหมู่เลือดใดได้บ้าง 9. ผู้หญิงคนหนึ่งแต่งงานสองครั้ง สามีคนแรกของเธอมีเลือดหมู่ A และลูกจากการแต่งงานครั้งแรกมีเลือดหมู่ - ส่วนสามีคนที่สองมีเลือดหมู่ B และลูกจากการแต่งงานครั้งที่สองมีเลือดหมู่ AB หมู่เลือดของผู้หญิงคน นี้คือหมูโด 10. โรคตาบอดสี (Color Blindness) เป็นความผิดปกติทางพันธุกรรมที่ถูกควบคุมโดยยีนด้อยบนโครโมโซม X ในครอบครัวหนึ่ง พ่อตาบอดสี แม่ตาปกติ ลูกชายคนแรกตาบอดสี ถ้าลูกคนต่อไปเป็นผู้หญิง โอกาสที่ลูกสาว จะตาบอดสีคิดเป็นร้อยละเท่าไร

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วย

188 15 4. บทที่ 5 | ชีวิตในสิ่งแวดล้อม ข้อมูลสถานที่ - มีอุณหภูมิแตกต่างกันมากในแต่ละฤดูและในระหว่างกลางวัน และกลางคืน มีปริมาณน้ำฝน 1. - พืชส่วนมากมีขนาดไม่ใหญ่ มีจำนวนน้อย ขึ้นกระจัดกระจาย และมีการปรับตัวเพื่อป้องกันการสูญเสียน้ำ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ - อุณหภูมิค่อนข้างสูงตลอดปี ฤดูแล้งยาวนาน 2. - พืชกลุ่มเด่นคือหญ้า และมีต้นไม้ขึ้นกระจัดกระจายแทรกอยู่ - อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 25-29 องศาเซลเซียส อุณหภูมิ และความชื้นไม่เปลี่ยนแปลงมากตลอดปี - มีความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตสูง 3. - พืชขึ้นอยู่อย่างหนาแน่น สามารถแบ่งชั้นตามระดับความสูง ของพืชได้หลายชั้น - ฤดูหนาวอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 10 องศาเซลเซียส ในฤดูร้อนอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 30 องศาเซลเซียส - พืชกลุ่มเด่นคือหญ้า - ฤดูหนาวอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 0 องศาเซลเซียส ในฤดูร้อน อากาศร้อนและชื้นโดยอุณหภูมิอาจสูงถึง 35 องศาเซลเซียส 5. มีพืชพรรณที่มีใบกว้าง - สามารถแบ่งเป็น 4 ฤดูได้ชัดเจน คือ ฤดูร้อน ฤดูใบไม้ร่วง ฤดูหนาว ฤดูใบไม้ผลิ - มีอากาศหนาวเย็น มีฤดูหนาวยาวนาน มีอุณหภูมิเฉลี่ย ต่ำกว่า -10 องศาเซลเซียส 6. - มีพืชพรรณที่ใบมีลักษณะคล้ายเข็มพืชส่วนใหญ่ไม่ผลัดใบ - มีช่วงฤดูหนาวยาวนาน มีฤดูร้อนช่วงสั้น ๆ ประมาณ 2 เดือน 7. ไม่มีต้นไม้ขนาดใหญ่ น้ำใต้ผิวดินจับตัวแข็งอยู่ตลอดเวลา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนิด ตัวอย่าง ไบโอม สิ่งมีชีวิต

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

#ช่วยหน่อยค่ะต้องส่งวันพฤหัสค่ะ

09:09 น. ตอนที่ 1 แบบปรนัยจํานวน 30 ข้อ คำสั่ง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว 1. สารสังเคราะห์ธรรมชาติคือสารใด ผลการเรียนรู้ ( ข้อ 1) ข้อ 1) ก. ผงซักฟอก ข. น้ำตาลกลูโคส ค. ถุงพลาสติก ง. ไฟเบอร์กลาส 2. ข้อใดเป็นกระบวนการสังเคราะห์ (ผลการเรียนรู้ ข้อ 1) ก. การทําน้ำแข็ง ข. การทําคอนกรีต ค. การทําขี้ผึ้ง ง. การแยกน้ำด้วยไฟฟ้า 3. ข้อใดคือความหมายที่ถูกต้องของกระบวนการ สังเคราะห์ (ผลการเรียนรู้ ข้อ 1) ก. กระบวนการสร้างสิ่งประดิษฐ์ สิ่งใหม่ๆ ทางวิทยาศาสตร์ ข. กระบวนการนําสารต่างชนิดมาทํา ปฏิกิริยาเคมีกัน ค. กระบวนการสร้างสารประกอบใหม่ โดยวิธีทางเคมี ง. กระบวนการแยกสารประกอบออก เป็นธาตุอิสระ 4. สิ่งต่อไปนี้ข้อใดเป็นสารสังเคราะห์ธรรมชาติทั้งหมด (ผลการเรียนรู้ ข้อ 1) ก. กาวอีพอกซี กาวลาเท็กซ์ ครึ่ง ข. เส้นใยไหม ขี้ผึ้ง น้ำยางพารา ค. ขี้ไต้ ครั่ง ไนลอน ง. สบู่ แผ่นพีวีซี ผงซักฟอก = 5. สารสังเคราะห์ใดเป็นสารสังเคราะห์วิทยาศาสตร์ (ผลการเรียนรู้ ข้อ 1) ก. ยางพารา ข. นิโคติน ค. เฮโรอีน ง. คาเฟอีน l 6. เสื้อที่ใช้ในการดับเพลิงควรทํามาจากเส้นใยชนิดใด (ผลการเรียนรู้ ข้อ 1) ก. ใยหิน ข. แก้ว ค. ไนลอน ง. เรยอง 7. มนุษย์เลียนแบบการสังเคราะห์สารธรรมชาติโดยวิธีใด (ผลการเรียนรู้ข้อ 1) 1/1 × ก. ย่อยโมเลกุลใหญ่เป็นโมเลกุลเล็กแล้วนำเอา โมเลกุลเหล่านั้นมารวมเป็นโมเลกุลใหญ่ ข. เริ่มต้นจากวัตถุดิบที่มีโมเลกุลเล็กสังเคราะห์ ให้เป็นโมเลกุลใหญ่ขึ้น ค. ใช้น้ำเป็นองค์ประกอบ ง. ใช้วัตถุดิบเป็นแก๊ส 8. สารสังเคราะห์ธรรมชาติที่เกิดขึ้นจากกระบวนการ สังเคราะห์แสง คือสารใด (ผลการเรียนรู้ ข้อ 1) ก. แป้ง ข. น้ำตาลกลูโคส ค. เซลลูโลส ง. น้ำตาลทราย 9. สารที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ เราเรียกว่าอะไร (ผลการเรียนรู้ ข้อ 2) ก. อลิเมอร์ ข. โฮโมเมอร์ ค. พอลิเมอร์ ง. มอนอเมอร์

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
ชีววิทยา มัธยมปลาย

วิชาวิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ

J ใบงานที่ 18 เรื่องหลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีการแผ่ขยายของพันมหาสมุ – ชั้น 23.2 ม.6/2อธิบายหลักฐานทางธรณีวิทยาที่สนับสนุนการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี คำชี้แจง ให้นักเรียนเติมคำหรือข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง ทวีปเอเชีย ตอบ ทวีปออสเตรเลีย I ทวีปอเมริกาเหนือ อายุ 0 - 1.6 ล้านปี อายุ 1.6 - 5 ล้านปี 0 อายุ 5 - 24 ล้านปี - อายุ 24 - 37 ล้านปี อายุ 37 - 58 ล้านปี 612 ทวีปอเมริกาใต้ ทวีปยุโรป CSS- ทวีปแอฟริกา 0 อายุ 58 - 66 ล้านปี 0 อายุ 66 - 88 ล้านปี อายุ 88 - 118 ล้านปี 144 ล้าน อายุ 118 อายุ 144 - 161 ล้าน : https://www.aungsana.com/lesson/lesson-2/ ใบงานที่ 1 ม.6/3 ระบุสาเหตุ และอธิบายรูปแ อย่างหลักฐานทางธรณีวิทยาที่พบ คำชี้แจง ให้นักเรียนเติมคำหรือ 1. เมื่อเปรียบเทียบขนาด ตำแหน่ง และการวางตัวของทวีปในแผนที่โลกในอดีตกับแผนที่โลกในปัจจุบันมีความ อย่างไร ตอบ ษฎีการแปรสัณฐานของแ มหาการ พ. 2. กระบวนการใดบ้างที่เกิดขึ้นในบริเวณรอยแยกกลางมหาสมุทร ตอบ อยู่ ๆ กระบวนการ 2. กา 999 เขา กลางมหาสมท 0, 150 1,900 น. 3. หินที่พบบนพื้นมหาสมุทรเป็นหินชนิดใด และอายุของหินแต่ละบริเวณเหมือนหรือต่างกันอย่างไร ที่มา : https จรการพาความร้อน คือ ปแบบการเคลื่อนที่ของ 4. ตามทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทร (sea-floor spreading theory) กล่าวว่าอย่างไร ตอบ ได้ออกมาเหตุที่ทำให้ผิว เคลื่อนยก อสมท (ถึงอาการ หลายสาขา ฟอกโลก ทำให้เปรอกโลก การใช้งาน เหลว มาหมุทร ภาพ 5. บุคคลที่กล่าวถึงทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทร (sea-floor spreading theory) ตอบ 6. อายุของหินบริเวณพื้นมหาสมุทรพบว่า หินบะซอลต์มีลักษณะอย่างไร ตอบ ผ่นธรณีเคลื่อนที่ออก แผ่นธรณีเคลื่อน ผ่นธรณีเคลื่อนที่ผ่

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

วิชาวิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ

J ใบงานที่ 18 เรื่องหลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีการแผ่ขยายของพันมหาสมุ – ชั้น 23.2 ม.6/2อธิบายหลักฐานทางธรณีวิทยาที่สนับสนุนการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี คำชี้แจง ให้นักเรียนเติมคำหรือข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง ทวีปเอเชีย ตอบ ทวีปออสเตรเลีย I ทวีปอเมริกาเหนือ อายุ 0 - 1.6 ล้านปี อายุ 1.6 - 5 ล้านปี 0 อายุ 5 - 24 ล้านปี - อายุ 24 - 37 ล้านปี อายุ 37 - 58 ล้านปี 612 ทวีปอเมริกาใต้ ทวีปยุโรป CSS- ทวีปแอฟริกา 0 อายุ 58 - 66 ล้านปี 0 อายุ 66 - 88 ล้านปี อายุ 88 - 118 ล้านปี 144 ล้าน อายุ 118 อายุ 144 - 161 ล้าน : https://www.aungsana.com/lesson/lesson-2/ ใบงานที่ 1 ม.6/3 ระบุสาเหตุ และอธิบายรูปแ อย่างหลักฐานทางธรณีวิทยาที่พบ คำชี้แจง ให้นักเรียนเติมคำหรือ 1. เมื่อเปรียบเทียบขนาด ตำแหน่ง และการวางตัวของทวีปในแผนที่โลกในอดีตกับแผนที่โลกในปัจจุบันมีความ อย่างไร ตอบ ษฎีการแปรสัณฐานของแ มหาการ พ. 2. กระบวนการใดบ้างที่เกิดขึ้นในบริเวณรอยแยกกลางมหาสมุทร ตอบ อยู่ ๆ กระบวนการ 2. กา 999 เขา กลางมหาสมท 0, 150 1,900 น. 3. หินที่พบบนพื้นมหาสมุทรเป็นหินชนิดใด และอายุของหินแต่ละบริเวณเหมือนหรือต่างกันอย่างไร ที่มา : https จรการพาความร้อน คือ ปแบบการเคลื่อนที่ของ 4. ตามทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทร (sea-floor spreading theory) กล่าวว่าอย่างไร ตอบ ได้ออกมาเหตุที่ทำให้ผิว เคลื่อนยก อสมท (ถึงอาการ หลายสาขา ฟอกโลก ทำให้เปรอกโลก การใช้งาน เหลว มาหมุทร ภาพ 5. บุคคลที่กล่าวถึงทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทร (sea-floor spreading theory) ตอบ 6. อายุของหินบริเวณพื้นมหาสมุทรพบว่า หินบะซอลต์มีลักษณะอย่างไร ตอบ ผ่นธรณีเคลื่อนที่ออก แผ่นธรณีเคลื่อน ผ่นธรณีเคลื่อนที่ผ่

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

สอบถามจากวิชาชีวะค่ะ พอดีอยากรู้ว่าแต่ละเลขคืออะไรและมีหน้าที่อะไรบ้าง

ชี้แจง : จงตอบคำถามจากภาพที่กำหนดให้ ไปงาน เรื่องเลือก รายวิชา ว 32242 การดำรงชีวิตของสัตว์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 1. หมาย: คืออะไร มีองค์ประกอบอย่างไร และทำหน้าที่อย่างไร borde 2 หมายเลข 2 คืออะไร แบ่งออกเป็นประเภท แต่ละประเภทมีลักษณะสำคัญอย่างไร 3. หมายเลข 3 คืออะไร มีลักษณะอย่างไร และลักษณะมีผลต่อการทำหน้าที่อย่างไร 4. หมายเลข 4 คืออะไร มีกระบวนการทำงานอย่างไร รมเชียงแสนวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเท

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยเราหน่อยค่ะ ถ้าข้อผิดช่วยอธิบายให้เราหน่อยน้าา

Sci Comprehension 2.9 ให้เขียนเครื่องหมาย / หน้าข้อความที่ถูกต้อง และเขียน เครื่องหมาย X หน้าข้อความที่ผิด พร้อมทั้งแก้ไขข้อความนั้น ให้ถูกต้อง 1. กลูโคสพบมากในผักผลไม้ต่างๆ น้ำผึ้ง ข้าว ข้าวโพด ข้าวสาลี 2. หากทดสอบแป้งโดยการเติมสารละลายไอโอดีนลงไป จะได้ตะกอนสีน้ำเงินเข้ม 3. อะลานีนและไลซีนเป็นกรดอะมิโนที่จำเป็นสำหรับการเจริญเติบโต และพัฒนาการ ในวัยเด็ก 4. ไกลโคโปรตีนเป็นโปรตีนที่จับกับหมู่ฟอสเฟต 5. วิตามิน K มีบทบาทสำคัญที่ช่วยให้เลือดแข็งตัว 6. R - SH คือ หมู่ฟังก์ชันซัลไฮฟดริล พบในน้ำตาลและกลีเซอรอล 7. น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวมีสูตรโมเลกุลเป็น CHO ซึ่งมีจำนวนคาร์บอนตั้งแต่ 3 - 7 อะตอม 8. แป้งมีโครงสร้าง 2 แบบ คือ อะไมโลสและไกลโคเจน 9. ปฏิกิริยาสพอนนิฟิเคชันเป็นปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสของกรดอะมิโนและน้ำมันด้วยน้ำ 10. สายพอลินิวคลีโอไทด์ของ RNA มีลักษณะเป็นสายเดี่ยว (single helix) ชีววิทยา เล่ม 1 39

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/21