ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

ชีววิทยา มัธยมปลาย

ข้อสอบชีวะเป็นข้อเขียนครับ

นิคม 1. ลอราร่า เห็นธนบัตร 1000 บาทวางอยู่บน พื้น จึงรีบเดินเข้าไปเอาผ้าปิดไว้หันมองรอบๆ ตัวเมื่อเห็นว่าไม่มีใคร จึงก้มลงหยิบใส่กระเป๋า แล้วรีบเดินจากไป จงอธิบายการทำงานร่วมกัน ของระบบประสาทกับการเคลื่อนไหว (7) 08:11 น. นิคม 2. ประสิทธิภาพการรับรู้และตอบสนองต่อสิ่ง เร้าของสิ่งมีชีวิตขึ้นอยู่กับปัจจัยใดบ้าง( 5) 08:11 น. นิคม 3. เวลาไอหรือจามแรงๆมักหูอื้อและน้ำตาไหล เป็นเพราะอะไร (5) 08:11 น. นิคม 4. ถ้าระบบประสาทอัตโนวัติมีเฉพาะระบบประ สาทซิมพาเทติกจะเกิดผลอย่างไร (3) 08:11 น.

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

รบกวนหน่อยครับ

21:21 น. 73% การตกไข่ 57. เมื่อนำเลือดหญิงตั้งครรภ์ 5 เดือน ไปตรวจจะพบระดับฮอร์โมนตามข้อใด ระดับสูง ระดับต่ำ 1. LH E FSH P 2. FSH E LH P น. 3. LH P FSH E P LH E E = estrogen 4. FSH P FSH P = progesterone 5. LH E 58. สารและฮอร์โมนในข้อใดเกี่ยวข้องกับตับอ่อนและตับของคน 1. ก = กลูโคส, ข = ไกลโคเจน, ค = อินซูลิน, ง = กลูคากอน 2. ก = ใกลโคเจน, ข = กลูโคส, ค = อินซูลิน, ง = กลูคากอน 3. ก = ไกลโคเจน, ข = กลูโคส, ค = กลูคากอน, ง = อินซูลิน 4. ก = กลูโคส, ข = ไกลโคเจน, ค = กลูคากอน, ง = อินซูลิน 5. ก = ไกลโคเจน, ข = กลูโคส, ค = อินซูลิน, ง = คอร์ติซอล | น้ำตาลในเลือดสูงขึ้น ระดับน้ำตาลในเลือดสูง ตับออนส น้ำตาลในเลือดต่ำลง ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ 59. เมื่อนำปัสสาวะของนางมะลิมาทดสอบกับสารละลายเบเนดิกต์ แล้วนำไปต้มจนเดือดได้ตะกอนสีอิฐของ Cu,0 แสดงว่านางมะลิขาดฮอร์โมนชนิดใด 1. อินซูลิน 4. คอร์ติซอล 3. โพรเจสเทอโรน 2. กลูคากอน 5. แอนติไดยูเรติกฮอร์โมน (ADH) 60. ในการสังเคราะห์อินซูลินของเซลล์ตับอ่อน จะมีการทำงานร่วมกันของออร์แกเนลล์ตามลำดับขั้นตอนคาม ข้อใด ข. เอนโดพลาสมิกเรติคิวลัม ค. กอลจิบอดี ก. นิวเคลียส ง. ไลโซโซม จ. ไรโบโซม 3. ก * ค -+ ข +ง 1. จ %ข * ค ง 2. จ *ข *ง * ค 4. ก + ป * ข * ค 5. ก + ป + ข * ค *ง จากผลการวัดระดับน้ำตาลในเลือดของนาย ก. 61. และนาย ข หลังจากรับประทานอาหารประเภท คาร์โบไฮเดรต เปรียบเทียบกับนาย ค ขณะว่ายน้ำ 200F 150 ถ้านาย ก และนาย ข ออกกำลังกายโดยว่ายน้ำ อย่างหนักเหมือนนาย ค ระดับน้ำตาลในเลือด 100 50 0 0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0 3.5 4.0 ควรเป็นอย่างไร ช่วงเวลาหลังจากรับประทานอาหาร (ชม.) 1. ก> ค > ข น 2. ก > ข > ค 3. ก = ข = ค 4. ภ ใกล้เคียงกับ ข แต่สูงกว่า ค. 5. ข ใกล้เคียงกับ ค แต่ต่ำกว่า ก. 62. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับกลไกการออกฤทธิ์ของฮอร์โมน ก. ตัวรับฮอร์โมนพวกโปรตีนและสเตอรอยด์จะอยู่ที่ตำแหน่งต่างกันของเซลล์ ข. ฮอร์โมนพวกเพปไทด์และเอมีนสามารถผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้ ค. ฮอร์โมนพวกสเตอรอยด์เกี่ยวข้องกับตัวนำข่าวสารตัวที่สอง 1. ข้อ ก 2. ข้อ ข 3. ข้อ ก และ ข 4. ข้อ ข และ ค 5. ข้อ ก, ข และ ค 63. ไต ต่อมไทรอยด์ และต่อมพาราไทรอยด์ ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมควบคุมการทำงานในข้อใดร่วมกน 1. ปริมาณน้ำตาลในเลือด 4. การเจริญเติบโตของร่างกาย 2. ความดันเลือด 3. ปริมาณแคลเซียมไอออนในเลือด 5. ปริมาณ Na, K', CI ในเลือด ถ้าตัดอวัยวะ A ออกจะไม่มีผลกระทบต่อข้อใด 1. การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด 64. ระดับน้ำตาลในเลือด (mg/100 cm)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ทำไม่เป็นค่ะ ไม่เข้าใจครูสอนเลย ช่วยหน่อยนะคะ อธิบายให้ด้วยก็ยิ่งดี

การนำเสนอสไลด์ PowerPoint - [บทที่ 4] - PowerPoint ยืนควบคุมลักษณะผิวเผือกมี2 แอลลีล คือ A - ผิวปกติและ a - ผิวเผือก และ ยีน ควบคุมการมีลักยิ้มมี 2 แอลลีล คือ B มีลักยิ้ม และ b ไม่มีลักยิ้ม ถ้าพ่อมี ลักษณะผิวปกติ และมีลักยิ้มแบบ heterozygous แต่งงานกับแม่ที่มีลักษณะผิว เผือกและไม่มีลักยิ้ม จงหา จำนวนรูปแบบของจีโนโทป์ 2) จำนวนรูปแบบของฟีโนโทป์และ และอัตราส่วนของจีโนโทป์ อัตราส่วนของฟีโนโทป์ 3) โอกาสที่ได้ลูกชายคนที่สองมีลักษณะผิว ปกติและไม่มีลักยิ้มเป็นเท่าใด 1)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ขอวิธีทำอย่างละเอียดหน่อยค่ะ เรียนในห้องไม่ค่อยเข้าใจเท่าไร ช่วยเเสดงวิธีทำ+สอนทำด้วยนะคะ ขอบคุณมากๆเลยค่ะ

แบบฝึกหัดที่ 3.2 จงตอบคำถามเกี่ยวกับพันธุศาสตร์ประชากร 1. ลักษณะพันธุกรรมหนึ่งมียีนควบคุม 2 แอลลีล คือ A , กับ A ซึ่งทำให้เกิดจีโนไทป์ได้ 3 แบบ คือ A,4, 4,4, AA, จงคำนวณหาว่า ในยีนพูลนี้ จะมีความถี่จีโนไทป์เป็นเท่าใด กำหนด ให้ประชากรเริ่มต้นมีความถี่ A , = 0.2 และ A, - = 0.8 2. จากการสำรวจประชากรกลุ่มหนึ่งในประเทศแคนาดาจำนวน 6,129 คน พบว่ามีหมู่เลือด ดังนี้ ส MM = 1,787 คน MN = 3,039 คน NN =. 1,303 คน จงคำนวณหาความถี่ของแอลลีล M. และ N จากการสำรว (BB) 51%

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

🙏🏻🙏🏻🙏🏻🙏🏻🙏🏻

14. ผู้ที่รับประทานอาหารมังสวิรัติจะไม่ขาดกรดอะมิโนที่จำเป็น คือ methionine และ lysine ซึ่งมถั่ งมีถั่วและ ข้าวโพด ตามลำดับ หากรับประทานอาหารตามข้อใด 1. อาหารที่ปรุงจากถั่วและข้าวโพดวันละ 1 มื้อ ทุกวัน 2. อาหารที่ปรุงจากถั่วและข้าวโพดสลับวันกัน 3. อาหารกลางวันปรุงจากข้าวโพดและอาหารเย็นปรุงจากถั่ว 4. อาหารปรุงจากถั่วหรือข้าวโพดอย่างเดียวแต่ละวันตามฤดูกาล 15 โครงสร้างของสารเคมีใดที่สามารถสร้างพันธะเพปไทด์ได้ NH, CH, C-H CH, H-C-OH SH,-0--๕ CH-0-2-" CH, HO -C-H H,C CH) H-C-OH =0 H,N -C-COOH H-C-OH H CH,OH CH,-0-C-R" H A B C D 1. A 2. B 3. C 4. D 16. ข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเมื่อให้ความร้อนกับอาหารเป็นเวลานานจนสายเพปไทด์สลายตัวเป็น กรดอะมิโน 1. การเสียสภาพ (denaturation) 2. ไฮโดรไลซิส (hydrolysis) 3. ไกลโคไลซิส (glycolysis) 4. ฟอสโฟรีเลชั่น (phosphorylation) 17. ข้อใดไม่มีการแปลงสภาพของโปรตีน 1. การบีบมะนาวในกุ้งเต้น 2. การใส่เกลือแกงลงในเนื้อหมู 3. การต้มไข่ในน้ำเดือดประมาณ 5 นาที 4. การเช็ดผิวหนังด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 18. โมเลกุลของสารในข้อใดประกอบด้วยโปรตีน A เคราทินของเส้นผม

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่า🥺🙏🏻

00:46 ศ. 30 ก.ค. จ 100% + X แบบฝึกหัด สารชีวิโมเลกุล1.pdf ป่า 0 ปี แบบทดสอบเก็บคะแนน เรื่องสารชีวโมเลกุล 1. ข้อใดเป็นจริงสำหรับแป้งและเซลลูโลส 1. เป็นพอลิเมอร์ของกลูโคส 2. ถูกย่อยในลำไส้ของคน 3. เป็นองค์ประกอบของผนังเซลล์พืช 4. เป็นแหล่งสะสมพลังงานในพืช 2. ถ้าต้องการสกัดสารไคทินจากผนังลำตัวหรือผนังเซลล์ ควรเลือกใช้สิ่งมีชีวิตกลุ่มใด 1. จิ้งหรีด ราขนมปัง 2. ตะขาบ สาหร่าย 3. ปลิงทะเล แบคทีเรีย 4. แม่เพรียง ยีสต์ 3. ในการทดสอบชนิดของน้ำตาลด้วยสารละลายเบเนดิกต์ที่ต้มในน้ำเดือด หากสารที่ทดสอบเป็น sucrose จะ ได้ผลเป็น เช่นไร 1. สารละลายสีส้มแดง 2. ตะกอนสีส้มแดง 3. สารละลายสีเขียวอมฟ้า 4. ตะกอนสีเขียวอมฟ้า 4. ข้อใดบ้างที่เมื่อย่อยเป็นโมเลกุลเดี่ยวแล้วสามารถทำปฏิกิริยากับสารละลายเบเนดิกต์ได้ A fructose B maltose C Sucrose D glycogen 1. A B 2. B C 3. B D 4. B C D 5. ข้อใดเกี่ยวข้องกับไขมัน A ช่วยละลายแร่ธาตุละลายในเยื่อหุ้มเซลล์ แพร่เข้าสู่เซลล์ได้ B ช่วยให้สารอาหารมีการดูดซึม C ช่วยให้วิตามิน A C D และ E ถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกายได้ D ช่วยให้ผิวหนังไม่แห้งและตกกระ 1. A B C 2. B C D 3. A C D 4. A B D

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยแก้ให้หน่อยนะครับเราไม่เก่งวิทย์

การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบนิเวศ แบบปกหัดที่ 2.1 เขียนเครื่องหมาย / หน้าข้อความที่ถูกต้อง และเขียนเครื่องหมาย X หน้าข้อความที่ไม่ถูกต้อง พร้อมทั้งแก้ไขข้อความนั้นให้ถูกต้อง 1. การเปลี่ยนแปลงแทนที่เป็นการเปลี่ยนแปลงของกลุ่มสิ่งมีชีวิตเมื่อสภาพแวดล้อมของ แหล่งที่อยู่อาศัยเปลี่ยนแปลงไป 2. บริเวณภูเขาไฟจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบนิเวศ เพราะมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่น้อย 3. บริเวณที่ทำไร่เลื่อนลอยแล้วปล่อยพื้นที่ให้รกร้างจัดเป็นการเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบทุติยภูมิ 4. หญ้าเป็นสิ่งมีชีวิตกลุ่มแรกที่สามารถเจริญในพื้นที่ที่มีการเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบปฐมภูมิ 5. การเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบปฐมภูมิใช้เวลาน้อยกว่าแบบทุติยภูมิ เพราะเป็นพื้นที่ ที่ไม่มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ จึงมีธาตุอาหารสมบูรณ์ 6. การเปลี่ยนแปลงแทนที่ทำให้สิ่งแวดล้อมทางกายภาพและทางชีวภาพเปลี่ยนแปลง 7. สิ่งมีชีวิตที่อยู่ในสังคมสมบูรณ์จะมีการเปลี่ยนแปลงแทนที่ของสิ่งมีชีวิตอยู่อย่างต่อเนื่อง 8. การเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบทุติยภูมิมีลำดับการเปลี่ยนแปลง เริ่มจากมอส หญ้า ไม้ล้มลุก ไม้ยืนต้น และสังคมพืช ตามลำดับ 9. ไลเคน มอส ลิเวอร์เวิร์ต จะเจริญเติบโตในบริเวณที่ปราศจากสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นมาก่อน 10. การตายทับถมของพืชจากโรคระบาดสามารถทำให้พื้นที่เกิดการเปลี่ยนแปลงแทนที่ได้ สิ่งมีชีวิตในสิ่งแวดล้อม 5

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0