ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

ชีววิทยา มัธยมปลาย

#ช่วยหน่อยค่ะต้องส่งวันพฤหัสค่ะ

09:09 น. ตอนที่ 1 แบบปรนัยจํานวน 30 ข้อ คำสั่ง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว 1. สารสังเคราะห์ธรรมชาติคือสารใด ผลการเรียนรู้ ( ข้อ 1) ข้อ 1) ก. ผงซักฟอก ข. น้ำตาลกลูโคส ค. ถุงพลาสติก ง. ไฟเบอร์กลาส 2. ข้อใดเป็นกระบวนการสังเคราะห์ (ผลการเรียนรู้ ข้อ 1) ก. การทําน้ำแข็ง ข. การทําคอนกรีต ค. การทําขี้ผึ้ง ง. การแยกน้ำด้วยไฟฟ้า 3. ข้อใดคือความหมายที่ถูกต้องของกระบวนการ สังเคราะห์ (ผลการเรียนรู้ ข้อ 1) ก. กระบวนการสร้างสิ่งประดิษฐ์ สิ่งใหม่ๆ ทางวิทยาศาสตร์ ข. กระบวนการนําสารต่างชนิดมาทํา ปฏิกิริยาเคมีกัน ค. กระบวนการสร้างสารประกอบใหม่ โดยวิธีทางเคมี ง. กระบวนการแยกสารประกอบออก เป็นธาตุอิสระ 4. สิ่งต่อไปนี้ข้อใดเป็นสารสังเคราะห์ธรรมชาติทั้งหมด (ผลการเรียนรู้ ข้อ 1) ก. กาวอีพอกซี กาวลาเท็กซ์ ครึ่ง ข. เส้นใยไหม ขี้ผึ้ง น้ำยางพารา ค. ขี้ไต้ ครั่ง ไนลอน ง. สบู่ แผ่นพีวีซี ผงซักฟอก = 5. สารสังเคราะห์ใดเป็นสารสังเคราะห์วิทยาศาสตร์ (ผลการเรียนรู้ ข้อ 1) ก. ยางพารา ข. นิโคติน ค. เฮโรอีน ง. คาเฟอีน l 6. เสื้อที่ใช้ในการดับเพลิงควรทํามาจากเส้นใยชนิดใด (ผลการเรียนรู้ ข้อ 1) ก. ใยหิน ข. แก้ว ค. ไนลอน ง. เรยอง 7. มนุษย์เลียนแบบการสังเคราะห์สารธรรมชาติโดยวิธีใด (ผลการเรียนรู้ข้อ 1) 1/1 × ก. ย่อยโมเลกุลใหญ่เป็นโมเลกุลเล็กแล้วนำเอา โมเลกุลเหล่านั้นมารวมเป็นโมเลกุลใหญ่ ข. เริ่มต้นจากวัตถุดิบที่มีโมเลกุลเล็กสังเคราะห์ ให้เป็นโมเลกุลใหญ่ขึ้น ค. ใช้น้ำเป็นองค์ประกอบ ง. ใช้วัตถุดิบเป็นแก๊ส 8. สารสังเคราะห์ธรรมชาติที่เกิดขึ้นจากกระบวนการ สังเคราะห์แสง คือสารใด (ผลการเรียนรู้ ข้อ 1) ก. แป้ง ข. น้ำตาลกลูโคส ค. เซลลูโลส ง. น้ำตาลทราย 9. สารที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ เราเรียกว่าอะไร (ผลการเรียนรู้ ข้อ 2) ก. อลิเมอร์ ข. โฮโมเมอร์ ค. พอลิเมอร์ ง. มอนอเมอร์

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย

รบกวนช่วยหน่อยค่ะ จะทบทวนก่อนสอบไม่แน่ใจว่าทำตรงนี้ถูกมั้ยค่ะรบกวนหน่อยนะคะ🙏🏻 จะสอบวัน28/12/64นี้แล้วค่ะ*** ช่วยหน่อยนะคะ❤️

ตอนที่ 1 ค่าชี้แจง ให้เลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. โมล หมายถึงหน่วยที่แสดงตามข้อใด ก. หน่วยที่แสดงจำนวน ดินสอ 1 โหล ข. หน่วยที่แสดงจำนวนอนุภาคของสารจำนวน 6.02 x 10 อนุภาค ค. หน่วยที่แสดงมวลของเนื้อหมู 100 กรัม ง. หน่วยที่แสดงปริมาตรของสารละลายน้ำเชื่อม 50 ลบ.ซม 2. แก๊ส 0, 1 โมล มีจำนวนอนุภาคเท่าไร 23 ก. 6.02 x 10 ข. 6.02 x 10 -23 ค. 6.02 x 10 3. สาร x จำนวน 0.5 mol มีจำนวนอนุภาคเท่าไร ง. 6.02 x 10 23 ก. 6.02 x 10 ข. 6.02 x 10 23 ค. 3.01 x 10 ง. 3.01 x 10 4. สาร a จำนวน 2.5 mol มีจำนวนอนุภาคเท่าไร 22 23 ก. 6.02 x 10 ข. 12.0 x 10 23 22 ค. 3.01 x 10 ง. 15.05 x 10 5. สาร H, SO, 0.5 mol มีจำนวนมวลโมเลกุลกีกรัม (มวลอะตอม H = 1, S = 32 , 0 = 16) ก. 49 ข. 62 ค. 98 ง. 105 6. ธาตุ S จำนวน 64 g มีจำนวนโมลเท่าไร (มวลอะตอม S = 32 ) ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย

ใครพอจะทำได้มั้ยคะ 🥺

ชื่อ - สกุล เลขที่ 1.6 เมื่อธาตุสมมติ Y เกิดเป็นไอออน จะมีประจุเป็นเท่าไรจึงเสถียร จงเขียนแสดงคำตอบในรูปของ สัญลักษณ์นิวเคลียร์ พร้อมระบุจำนวนอนุภาคมูลฐานของไอออน และเขียนแสดงการจัดเรียง อิเล็กตรอนแบบแผนภาพออร์บิทัลที่ใช้ก๊าซเฉื่อยเป็นแกนของไอออนที่เกิดขึ้น ตอบ (2 คะแนน) 1.7 เมื่อธาตุสมมติ X เกิดเป็นสารประกอบตามกฎ Octet กับธาตุ Chlorine(Cl) ให้นักเรียนเขียนสูตร เคมี อ่านชื่อ เขียนสูตรแบบจุด สูตรแบบเส้น รูปร่างโมเลกุลพร้อมระบุรูปทั่วไปของ VSEPR ระบุ สภาพขั้วของพันธะและสภาพขั้วของโมเลกุล พร้อมระบุแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล รวมถึง ประโยชน์และโทษของสารประกอบดังกล่าว (10 คะแนน) ตอบ 1.8 เมื่อธาตุสมมติ Y เกิดเป็นสารประกอบตามกฎ Octet กับธาตุ Fluorine(F) ให้นักเรียนเขียนสูตร เคมี อ่านชื่อ เขียนสูตรแบบจุด เขียน Born Haber Cycle เขียนสมการการละลายน้ำ รวมถึง ประโยชน์และโทษของสารประกอบดังกล่าว เมื่อนำสารประกอบดังกล่าวไปทำปฏิกิริยากับ AgNo,(aq) ให้นักเรียนเขียนสมการไอออนิกสุทธิแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น (15 คะแนน) ตอบ

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 4
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ

4. แรงยึดเหี่ยวซึ่งเกิดขึ้นระหว่างโมเลกุลของสารประกอบโคเวเลนต์ได้แก่แรงชนิดใดบ้าง และแรงต่าง ๆ มีลักษณะ อย่างไร 5. พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ข้อใดถูกเขียนเครื่องหมาย / หรือข้อใดผิดเขียนเครื่องหมาย X สาเหตุที่ทำให้จุดเดือดและจุดหลอมเหลวของสารประกอบโคเวเลนซ์ต่ำ เพราะ แรงยึดเหนี่ยวระหว่าง โมเลกุลต่ำ สารประกอบโคเวเลนต์นำไฟฟ้าในสถานะแก๊สเท่านั้น สารประกอบโคเวเลนต์มีทิศทางของพันธะไม่แน่นอน แต่มีรูปร่างโมเลกุลแน่นอน การเกิดปฏิกิริยาของสารประกอบโคเวเลนต์จะเกิดขึ้นอย่างช้า ๆ สารประกอบโคเวเลนต์ส่วนใหญ่ละลายน้ำได้น้อย สารโคเวเลนต์ไม่มีขั้ว จะมีจุดเดือดจุดหลอมเหลวต่ำ ๆ เพราะโมเลกุลยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงลอนดอน อย่างเดียวเท่านั้น โครงสร้างเป็นโครงผลึกร่างตาข่าย เช่น เพชร แกรไฟต์ จะมีจุดเดือดจุดหลอมเหลวสูง

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
1/6