ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

เคมี มัธยมปลาย

ข้อ9กับข้อ10ค่ะ ใครรู้ช่วยบอกหน่อยนะคะ บอกแค่ข้อเดียวก็ยังดีค่ะ🥺🥺

14:27 Dtจ t& all 42% liveworksheets.com/4-h (41 : 7. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ก. รังสีเอ็กซ์ ข. แสง ค. คลื่นเสียง ง. คลื่นวิทยุ 8. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าต่อไปนี้สเปกตรัมไหนที่มีความเร็วสูงที่สุด ก. รังสีเอ็กซ์ ข. แสง ค. รังสีอินฟราเรด ง. ความเร็วเท่ากัน 9. ข้อสรุปเกี่ยวกับสเปกตรัมของแสงที่ถูกต้องที่สุด คือข้อใด ก. แถบสเปกตรัมสีม่วงมีพลังงานมากที่สุด แต่มีความถี่ของคลื่นน้อยที่สุด ข. แถบสเปกตรัมสีม่วงมีพลังงานมากที่สุด และมีความถี่มากที่สุด ค. แถบสเปกตรัมสีแดงมีพลังงานมากที่สุด และมีความถี่มากที่สุด ง. แถบสเปกตรัมสีแดงมีพลังงานน้อยที่สุด แต่มีความถี่มากที่สุด 10. สเปกตรัมสีแดงของโพแทสเซียมมีความถี่ 3x1014 เฮิรตซ์ จะมีความยาวคลื่นเท่าใด ก. 1x10 m ข. 1x10 m ค. 1x10 m ง. 1x105 m สาระเคมี(วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม) ผลการเรียนรู้ ม.4/6 เขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุและระบุจำนวนโปรตอน นิว อะตอมจากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ รวมทั้งบอกความหมายของไอโซโทป 11. ธาตุที่เป็นไอโซโทปกัน หมายถึงข้อใด ก. ธาตุที่มีเลขอะตอมเท่ากันแต่เลขมวลต่างกัน ข. ธาตุที่มีเลขอะตอมเท่าคั

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยด้วยค่าาาาา

4G 4G 4G บ ป 21:39 น. 63 แบบฝึกหัด 1.5 - . แบบฝึกหัดที่ 1.5 ตอบคำถามเกี่ยวกับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและสเปกตรัม 1. จากตารางแสดงความยาวคลื่นและค่าพลังงานของสเปกตรัมแสงสีด่าง ๆ ดังนี้ สเปกตรัม ความยาวคลื่น (nm) พลังงาน (J) แสงสีม่วง 400 - 420 4.97 x 10 13 - 4.73 x 1018 แสงสีคราม น้ำเงิน 420 - 490 4.73 x 10 19 4.05 x 1010 แสงสีเขียว 490 - 580 4.05% 10 19 3.42 x 10 19 แสงสีเหลือง 580 - 590 3.42 x 10 10 - 3.36 x 10 10 แสงสีส้ม 3.36 x 10 19 3.06 x 1010 500 - 650 แสงสีแดง 650 - 700 3.06 x 1010- 2.84 x 10 18 จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบคำถามว่าถูกหรือผิด พร้อมทั้งอธิบายเหตุผลประกอบ 1) แสงสีม่วงมีค่าความยาวคลื่นน้อยกว่าแสงสีส้ม 2) แสงสีแดงมีค่าความถี่มากกว่าแสงสีคราม - น้ำเงิน 3) ค่าพลังงานของแถบสเปกตรัมแปรผันตรงกับค่าความยาวคลื่น 2. สเปกตรัมของแสงสีเกิดขึ้นได้อย่างไร 3. จากการทดลองของโบร์ เพราะเหตุใดเส้นสเปกตรัมของธาตุไฮโดรเจนจึงมีหลายเส้น ทั้งที่ ไฮโดรเจนเป็นธาตุที่มีเพียง 1 อิเล็กตรอนเท่านั้น 4. การเปลี่ยนแปลงระดับพลังงานของอิเล็กตรอนและการเกิดสเปกตรัมของไฮโดรเจนอะตอม ทำให้นีลส์ โบร์ อธิบายลักษณะการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนได้ว่าอย่างไร 5. พิจารณาภาพการเปลี่ยนระดับพลังงานของอิเล็กตรอนที่กำหนดให้ แล้วตอบคำถาม กำหนดให้ E, เป็นระดับพลังงานที่อยู่ใกล้นิวเคลียส E, E, D

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

มีใครพอช่วยเราหน่อยได้มั้ยคะ

มุมความรู้ ในปี พ.ศ. 2443 มักซ์ พลังค์ (Max Planck) นักฟิสิกส์ชาวเยอรมันได้ศึกษาเกี่ยวกับพลังงานของ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า พบความสัมพันธ์ดังสมการ สูตร E = hV C เนื่องจาก V = น้ จะได้ว่า hc E = กำหนดให้ E คือ ค่าพลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า มีหน่วยเป็นจูล (Joule) อักษรย่อ ง h คือ ค่าคงที่ของพลังค์ (Planck's Constant) มีค่า = 6.626 x 10-34 จูลวินาที (J-s) V คือ ความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า มีหน่วยเป็น รอบต่อวินาที (S") หรือเฮิรตซ์ (Hz) C คือ ความเร็วของแสงในสุญญากาศ มีค่าเท่ากับ 3x10 เมตรต่อวินาที (m/s) A คือ ความยาวคลื่น (m) (เมื่อ 1 nm = 10-9 m) 5. จงคำนวณค่าพลังงาน ความยาวคลื่น และความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าต่อไปนี้ 5.1 เส้นสเปกตรัมเส้นหนึ่งมีความยาวคลื่น 450 nm จะมีความถี่และพลังงานเท่าใด วิธีคิด

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 2
1/6