ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

เคมี มัธยมปลาย

วิชาวิทย์ ม.ปลาย ค่ะ มีใครทำได้ไหมคะคือวันนี้เราไม่มาแล้วครูสั่งให้ส่งวันนี้😭😭 กราบขอบคุณล่วงหน้าค่ะ

2. จงตอบคําถามต่อไปนี้ 2.1 กระบวนการสลายตัวของ นิวเคลียร์ของการสลายตัวนี้ 232 Th จะมีการปล่อยอนุภาคแอลฟา จงเขียนแสดงสมการ 90 140 2. กระบวนการสลายตัวของ 57 นิวเคลียร์ของการสลายตัว La จะมีการปล่อยอนุภาคบีตา 4 ตัว จงเขียนแสดงสมการ 226 89 3. กระบวนการสลายตัวของ AC จะมีการปล่อยอนุภาคแอลฟา 6 ตัว และปล่อยอนุภาคบีตา 4 ตัว การสลายตัวนี้จะได้ธาตุใด 236 228 4. กระบวนการสลายตัวของ U ได้ผลิตภัณฑ์ 92 Ra จะมีอนุภาคแอลฟาเกิดขึ้นที่อนุภาค 88

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

อยากรู้คำตอบ

ชื่อ แบบฝึกหัดเพิ่มเติม 1.2 เรื่อง จำนวนเลขนัยสำคัญและการปัดเลข จงบอกจำนวนเลขนัยสำคัญในข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้อง ชั้น 1. 1.1 246.90 มีเลขนัยสำคัญ ตำแหน่ง 1.7 1.005 มีเลขนัยสำคัญ ตำแหน่ง 1.2 12333 มีเลขนัยสำคัญ · ตำแหน่ง 1.8 15.06 มีเลขนัยสำคัญ ตำาแหน่ง 1.3 3.750 มีเลขนัยสำคัญ ตำแหน่ง 1.9 5.00 มีเลขนัยสำคัญ ตำาแหน่ง 1.4 4.0 มีเลขนัยสำคัญ ตำแหน่ง 1.10 5.70 x 100 มีเลขนัยสำคัญ ตำแหน่ง 1.5 0.25 มีเลขนัยสำคัญ ตำแหน่ง 1.11 25.0 x 10 มีเลขนัยสำคัญ ตำแหน่ง 1.6 0.00013 มีเลขนัยสำคัญ ตำแหน่ง 1.12 0.0030 มีเลขนัยสำคัญ ตำแหน่ง 2. จงตอบคำถามต่อไปนี้ 2.1 5.2554 ต้องการเลขนัยสำคัญ 3 ตัว ปัดเป็น 2.2 0.045 ต้องการเลขนัยสำคัญ 1 ตัว ปัดเป็น 2.3 9.4432 ต้องการเลขนัยสำคัญ 2 ตัว ปัดเป็น 2.4 0.155 ต้องการเลขนัยสำคัญ 2 ตัว ปัดเป็น 2.5 7.7893 ต้องการเลขนัยสำคัญ 2 ตัว ปัดเป็น 2.6 1.256 ต้องการเลขนัยสำคัญ 2 ตัว ปัดเป็น 2.7 2.652 ต้องการเลขนัยสำคัญ 2 ตัว ปัดเป็น 2.8 0.999 ต้องการเลขนัยสำคัญ 2 ตัว ปัดเป็น 2.9 4.33 ต้องการเลขนัยสำคัญ 2 ตัว ปัดเป็น 2.10 8.85 ต้องการเลขนัยสำคัญ 2 ตัว ปัดเป็น 2.11 8.75 ต้องการเลขนัยสําคัญ 2 ตัว ปัดเป็น 2.12 1.652 ต้องการเลขนัยสำคัญ 2 ตัว ปัดเป็น

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย

วิธีการคำนวณคิดยังไงหรอคะ ช่วยด้วยค่ะ🙏😭

คำชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ตอบคำถามข้อ 5-7 จุดของการไทเทรต ปริมาตรของ CH3COOH 0.1 โมล/ลิตร (cm) 20 20 20 20 20 20 -5 25 °C = 1.8 × 10 และ log 5 || ||| IV V VI กำหนดค่าคงที่การแตกตัวของ CH,COOH ที่ (3) จุดที่ให้การเปลี่ยนแปลงค่า pH น้อยที่สุดเมื่อหยุดการไทเทรต ปริมาตรของ NaOH 0.2 โมล/ลิตร (cm) 3.) 1.30 7.) ที่จุดยุติ (end point) ของการไทเทรต (OH) อยู่ที่โมล/ลิตร 1. 3.7 x 10-11 3. 1.6 × 10-9 ได้มาเติมกรดแก่คือจุดใด 1.) จุดที่ || 3. จุดที่ IV 6. เมื่อทำการไทเทรตถึงจุดที่ VpOH ของสารละลายที่ได้เท่ากับเท่าใด 1. 12.70 0 5 10 15 20 25 = 0.699 ณ จุดนั้น แล้วนำสารละลายที่ 2. จุดที่ III 4. จุดที่ V และ VI 2. 1.00 4. 0.60 2. 1.0 x 10-7 4.) 6.1 x 106

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

เรื่องค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตี

H 2,1 แบบฝึกหัด คำสั่ง : จงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. พิจารณาคาอิเล็กโทรเนกาติวิตในตารางธาตุที่กำหนดให้ Li 1.0 สรุปปัจจัยที่มีผลต่อค่าอิเล็กโทรน 1) ขนาดอะตอม (กรณีที่ธาตุมีจำนวนระดับชั้นพลังงานต่างกัน) - อะตอมขนาดเล็ก - แรงดึงดูดระหว่าง nucleus กับ 6 มีค่ามาก e เมื่อสร้างพันธะกับอะตอมอื่น มีแนวโน้มดึงดูด 2 คู่ร่วมพันธะเข้าหานิวเคลียสตัวเองได้ดี จึงมีค่า EN สูง - อะตอมขนาดใหญ่ - แรงดึงดูดระหว่าง nucleus กับ 8 มีค่าน้อย เมื่อสร้างพันธะกับอะตอมอื่น มีแนวโน้มดึงดูด 8 คู่ร่วมพันธะเข้าหานิวเคลียสตัวเองได้แก่ จึงมีค่า EN ตัว 2) จำนวนประจุบวกในนิวเคลียส (กรณีที่ธาตุมีจำนวนระดับชั้นพลังงานเท่ากัน) Na Me 0.9 1.2 Rb 0.8 K Ca 0.8 4.0 Cs 0.7 Be 1.5 Fr 0.7 - อะตอมของธาตุที่มีจำนวนประจุบวกในนิวเคลียส (หรือจำนวนโปรตอน ที่มาก เมื่อสร้างพันธะกับอะตอมอื่น มีแนวโน้มดึงดูด 2 คู่ร่วมพันธะเข้าหานิวเคลียสตัวเองได้ดีกว่า ธาตุนั้นจึงมีค่า EN สูง Sc 1.3 St Y Zr 1.0 1.2 14 Ti 1.5 Ba La-Lu HT 091-12 13 Ra Ac-No 0.9 1.1-1.7 N V 1.6 Cr 1.6 Nb Mo 1.6 1.8 Ta W 1.5 1.7 Min Fe 15 1.8 Tc 1.9 Re 1.9 ******* Ru 2.2 Os 2.2 Co 1.8 Rh Pd 2.2 2.2 Ir Ni 1.8 A PL 2.2 2.2 Cu 19 Ag 1.9 Au 2.4 Zn 1.6 B C 2.0 Hg 1.9 A[ 1.5 Ga 1.6 Cd In 1.7 1.7 TI 1.8 N 2.5 3.0 Si 1.8 Ge 1.8 P 2.2 Pb 1.8 As 2.0 0 35 Bi 1.9 Sn Sb Te 1.8 1.9 2.1 Se 2.4 จงตอบคําถามต่อไปนี้ 1) จากข้อมูลด้านบน ธาตุใดมีค่าอิเล็กโทรเนกาตัวมากที่สุด และธาตุใดมีค่าอิเล็กโทรเนกาตัวน้อยที่สุด ตอบ............... F 4.0 S C Ar 25 3.0 Br 2.8 I 2.5 Po AL 2.0 2.2 2) นักเรียนคิดว่าเพราะเหตุใดธาตุหมู่ 8A ส่วนใหญ่จึงไม่มีค่าอิเล็กโทรเนกาทีวี ยกเว้นธาตุจริปทอน (K) และธาตุซีนอน (Xe) ตอบ........... He Ne Kr 3.0 Xe 2.6 Rn …...…..…………

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ ทำไม่ได้เลย🥲

***** ****** แบบฝึกหัด คําสั่ง : จงตอบคําถามต่อไปนี้ 1. จงทำเครื่องหมาย จ หน้าข้อความที่ถูกต้องและทำเครื่องหมาย X หน้าข้อความที่ผิด พร้อมทั้งแก้ข้อความที่ผิดให้ถูกต้อง www. m --------------- ************** ********** ******** 1) เดอเบอไรเนอร์เป็นผู้จัดตั้งกฎแห่งสามขึ้น โดยเป็นกฎที่ทำให้เกิดการจัดธาตุเป็นกลุ่ม ๆ ละ 3 ธาตุ ถ้าข้อผิด แก้ไขเน 2) นิวแลนด์เป็นผู้เสนอการจัดตารางธาตุที่ว่า ถ้านำธาตุมาเรียงตามมวลอะตอม จะพบว่าธาตุที่ 7 มีสมบัติคล้ายกับธาตุที่ 1 ถ้าข้อนี้ผิด แก้ไขเป็น 3) Law of octaves ใช้กับธาตุได้เพียง 30 ตัวแรกเท่านั้น ถาขอนผิด แก้ไขเป็น 4) กฎการจัดธาตุของนิวแลนดใช้ได้ถึงธาตุ Ca เท่านั้น ถ้าข้อผิด แก้ไขเป็น 5) กำหนดให้ธาตุชุดหนึ่งประกอบด้วย Ca Sr Ba หากธาตุกลุ่มนี้เป็นไปตามกฎแห่งสาม มวลอะตอมของ Sr จะเป็น 88.5 ถาขอนผิด แก้ไขเป็น 6) ไมเออร์และเมเตเลเอฟตั้งข้อสังเกตว่า ถ้าเรียงธาตุตามลำดับเลขอะตอมจากน้อยไปมาก จะพบว่าธาตุมีสมบัติคล้ายคลึงกันเป็นช่วง ๆ ถาขอนผิด แก้ไขเป็น 7) การออกของโมสลีย์คือกฎที่นำมาสู่การจัดสร้างตารางธาตุที่ใช้ในปัจจุบันนี้ ถ้าข้อผิด แก้ไขเป็น 8) ธาตุในปัจจุบันมีทั้งธาตุที่ค้นพบในธรรมชาติ ธาตุที่สังเคราะห์ขึ้นและธาตุที่ได้จากการแผ่รังสี ถ้าข้อนี้ผิด แก้ไขเป็น *********** 9) กฎรออกของโมสลีย์ถูกนำมาสร้างเป็นตารางธาตุในปัจจุบัน จึงยกย่องให้ไม่สลียบิดาแห่งตารางธาตุ ถ้าข้อนี้ผิด แก้ไขเป็น ********* ************ 10) ตารางธาตุในปัจจุบันเกิดจากการนำธาตุมาเรียงตามมวลอะตอม (Atomic mass) ถ้าข้อนี้ผิด แก้ไขเป็น *****

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
1/96