ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

ประวัติศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยตอบหน่อยค่ะ

จุดประกายความคิด กิจกรรมที่ ใน 100 ร้างหน้า จะมีหลักฐานใดที่จะแสดงถึง เรื่องราวของนักเรียน ในยุคปัจจุบัน 1.1 จากบทความ การใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์วิเคราะห์เหตุการณ์ ประเมินผลตัวชี้วัด ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวต่าง ๆ ที่ตนสนใจ (ส 4.1 ม.3/2) 1. ให้นักเรียนวิเคราะห์บทความแล้วตอบคำถาม (คะแนนเต็ม 5 คะแนน) ชนเผ่าไทกลุ่มต่าง ๆ ตั้งถิ่นฐานกระจายอยู่ทั่วไปในบริเวณที่กว้างขวางคาบเกี่ยวกับดินแดน หลายประเทศ มีภาษา ขนบธรรมเนียม วัฒนธรรมและประเพณีคล้ายคลึงกับคนไทยที่อาศัยอยู่ใน ประเทศไทยปัจจุบัน เป็นชนกลุ่มน้อยในประเทศต่าง ๆ เช่น ไทลื้อในดินแดนสิบสองปันนาทางตอน ใต้ของประเทศจีน พวกผู้ไทและไทดำในเวียดนาม พวกไทใหญ่ในรัฐฉานของพม่าและไทอาหม ในรัฐอัสสัมของอินเดีย กลุ่มไทเหล่านี้ส่วนใหญ่ยังคงรักษาวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมและประเพณี ดั้งเดิมอยู่ ดินแดนที่ชนเผ่าไทตั้งถิ่นฐานอยู่ได้มีนักประวัติศาสตร์หรือนักวิชาการนำเสนอว่าน่าจะ เป็นถิ่นกำเนิดของชนชาติไทย (1 คะแนน) ทางประวัติศาสตร์ นักเรียนจะตั้งประเด็น คำถามเกี่ยวกับบทความนี้อย่างไร 1.2 จากบทความมีสิ่งใดที่จะใช้เป็น หลักฐานทางประวัติศาสตร์ (2 คะแนน) วิธีการทางประวัติศาสตร์กับการศึกษาเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ประวัติศาสตร์ มัธยมต้น

งงค่ะหาเท่าไหร่ก็ไม่เจอ ขอด่วนๆเลยนะคะ ส่งวันพน.(25/05/65) หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ม.2

SUTASOL Pre-Test แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre - Test) ได้ คะแนน ชอ นามสกุล เลขที่ ชั้น คะแนนเต็ม 10 คะแนน ให้ระบายคำตอบที่ถูกต้องลงในวงกลมตัวเลือกให้เต็มวง (ห้ามระบายนอกวง) 1. ข้อใดเป็นวิธีการประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์แบบการประเมินภายนอก (1) การวิเคราะห์เนื้อหาที่บันทึก 2) ข้อมูลที่บันทึกว่าเป็นกลางหรือไม่ 3) การนำเสนอข้อมูลมีการบิดเบือนหรือไม่ (4) ความน่าเชื่อถือของบุคคลผู้บันทึกเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ 2. หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในข้อใดเป็นหลักฐานขั้นปฐมภูมิทั้งหมด 1 พงศาวดาร ศิลาจารึก (2) จดหมายเหตุ อัตชีวประวัติ 3) โบราณวัตถุ ตำราประวัติศาสตร์ (4) โบราณคดี วรรณคดี 3. หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในข้อใดไม่ใช่หลักฐานขั้นทุติยภูมิ วารสาร 2) กฎหมายตราสามดวง 3) หนังสือพิมพ์ (4) ภาษาศาสตร์ 4. ลักษณะของนักประวัติศาสตร์ที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร (1) มีการทดลองศึกษาเพียงครั้งเดียว (2) มีความละเอียดถี่ถ้วน ช่างสังเกต (3) ใช้สำนวนการบันทึกแบบโวหาร (4) ผลสรุปที่ได้จากการค้นคว้าถือว่าเป็นความจริงที่ใครโต้แย้งไม่ได้ 5. ข้อใดเป็นวิธีการประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์แบบการประเมินภายใน (1) ประสบการณ์ของผู้เขียน (2) ประวัติและผลงานของผู้บันทึก (3) ความถูกต้องของข้อมูลที่มีหลักฐานอ้างอิงชัดเจน 4) ความเป็นนักประวัติศาสตร์ที่มีขั้นตอนการบันทึกข้อมูลที่เป็นกลาง nomin

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ประวัติศาสตร์ มัธยมต้น

ข่วยอธิบายหน่อยค่ะ ขอบคุณนะค่ะ💞🤲

4G 3ย 11:08 น. ล Iปี" เE2 KB/5 Vol 1 0.00 81% ใบงานที่1เรื่องวิ.. วิธีการทางประวัติศาสตร์ คำชี้แจง: ให้นักเรียนอธิบาย "วิธีการทางประวัติศาสตร์" ตามความเข้าใจของนักเรียน ประวัติศาสตร์คืออะไรและศึกษาได้อย่างไร จุดมุ่งหมายของการวิเคราะห์เรื่องราว เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ การวิเคราะห์และสังเคราะห์เรื่องราว เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์เป็นขั้นตอนที่ ของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ซึ่งวิธีการทางประวัติศาสร์มีทั้งหมด ชั้นตอน คำสั่ง: ให้นักเรียนโยงเส้นเรียงลำดับ 5 ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ให้ถูกต้อง ะ 5 ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ขั้นตอนที่ การตั้งประเด็นที่จะศึกษา ขั้นตอนที่ การเรียบเรียงรายงานข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ 2 ขั้นตอนที่ สืบค้นและรวบรวมข้อมูล 3 ขั้นตอนที่ การวิเคราะห์และตีความข้อมูลทางประวัติศาสตร์ 4 ขั้นตอนที่ การคัดเลือกและประเมินข้อมูล 5

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
ประวัติศาสตร์ มัธยมต้น

วิชาประวัติศาสตร์ ม.2 ช่วยหน่อยครับ 🙏🏻🙏🏻

2. ให้นักเรียนอ่านบทความต่อไปนี้และตอบคำถาม สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชนี้ ได้ความว่าสมภพเมื่อปีกุน จุลศักราช 877 พ.ศ. 2058 ในรัชกาลสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 หนังสือ พระราชพงศาวดารว่า ฝ่ายพระบิดาเป็นเชื่อพระวงศ์สมเด็จพระร่วง เป็นพระญาติ (ฝ่ายพระชนนี) สมเด็จพระไชยราชาธิราช บางทีจะเป็นชาวเมืองพิษณุโลก แต่คงจะได้รับราชการในพระองค์สมเด็จ พระไชยราชาธิราชแต่ก่อนมา จึงได้เป็นเจ้ากรมพระตำราจรักษาพระองค์อยู่ใกล้ชิด เมื่อเป็นพระมหา คำนวณตามศักราชในพระราชพงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐ ธรรมราชาไปครองเมืองพิษณุโลก พระขันษา 33 ปี ได้รับพระราชทานพระวิสุทธิกษัตรี ราชธิดาสมเด็จ พระมหาจักรพรรดิ เป็นพระมเหสี ปรากฏว่ามีราชโอรส ราชธิดา 3 องค์ คือที่ 1 พระสุวรรณเทวี น่า เชื่อตามพงศาวดารพม่าว่า มีและที่ว่าถวายพระเจ้าหงสาววดีบุเรงนองไป ที่ 2สมเด็จพระนเรศวร ที่ 3 สมเด็จพระเอกาทศรถ สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชครองเมืองพิษณุโลกอยู่ 21 ปี จึงได้ราชสมบัติ พระชันษา 54 ปี 2.1. บทความนี้กล่าวถึงเรื่องอะไร. 2.2. หลักฐานประเภทลายลักษณ์อักษรที่ยืนยันข้อเท็จจริงของบทความนี้คือ 2.3. จงระบุข้อความจากบทความดังกล่าวว่าส่วนใดเป็นข้อเท็จจริงทาง ประวัติศาสตร์ 2.4. นักเรียนจะตรวจสอบข้อเท็จจริงของบทความนี้ได้อย่างไร 2.5. นักเรียนคิดว่าบทความนี้น่าเชื่อถือหรือไม่ เพราะเหตุใด

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ประวัติศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่าา ประวัติม.2งับ

6. วิธีการตีความหลักฐานทางประวัติศาสตร์ข้อใดถูกต้องที่สุด 1. ตีความตามความคิดของตนเอง 2. ตีความตามหลักฐานที่ปรากฏ 3. ตีความตามความเชื่อของผู้ร่วมเหตุการณ์ 4. ตีความตามเรื่องเล่าที่รับฟังมาปากต่อปาก 7. ข้อใดไม่ใช่ความสําคัญของการตีความหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่มี อการศึกษาประวัติศาสตร์ 1. ช่วยให้ได้ข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ 2. นําเสนอความรู้ใหม่ๆ แก่ผู้สนใจอื่นๆ 3. เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ 4. ช่วยรักษาหลักฐานทางประวัติศาสตร์ให้คงอยู่ตลอดไป 8. เมื่อนักเรียนจะเริ่มต้นศึกษาข้อมูลทางประวัติศาสตร์ นักเรียนควรไปสถานที่ใดจึงจะได้ข้อมูลที่สุด 1. วัดสําคัญของจังหวัด ผลต่ ห้องสมุดชุมชน พิพิ พิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ 4. ร้านอินเตอร์เน็ตคาเฟ่ 2. 3. ตอนที 2 จงเขียนตอบคําถามต่อไปนี 1. ความจริงและข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์แตกต่างกัน อย่างไร ข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์เป็นข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณ์ทํ กิดขึ้นในอดีต แต่ความจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์เป็นข้อเท็จจริงทางประ วัติศาสตร์ซึ่งได้รับการยอมรับว่าเป็นความจริง 2. จากข้อมูลหลักฐานทั้ง 2 เรื่องต่อไปนี้ นักเรียนสามารถวิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างไร “ ..ไม่มีชนชาติใดที่จะบริโภคอาหารอดออมเท่าคนสยาม สามัญชนดื่มแต่น้อยเท่านัน แล้วก็กินข้าวหุง, ผลไม้, ปลาแห้งบ้างเล็กน้อย แล้วยังกินไม่ค่อยอื่มท้องเสียด้วย ชนชั้นสูงก็มิได้บริโภคดีไปกว่านี้ ทั้งๆ ที่สามารถจะซื่อหามาบริโภคได้ตามปรารถนา...” นิโกลา แชร์แวร์ “สํารับกับข้าวคนชาวสยามนันไม่สู้จะฟุ่มเฟือยนัก ที่พวกเราบริโภคอาหารกันน้อยในฤดูร้อนกว่าในฤดูหนาวนั้น

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
สังคมศึกษา มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่า สังคม ม.2 จะต้องส่งแล้วงับ🥺😭

เรื่องราวในประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นมาแล้วจะมีความน่าเชื่อถือหากเป็นกรณี ใด ก.ผู้เขียนเป็นราชนิกุล ข.มีหลักฐานอ้างอิงสนับสนุน ค.มีการเรียบเรียงอย่างสละสลวย ง. ผู้เขียนเป็นบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ 2. พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) เป็นหลักฐานประเภทใด 1. หลักฐานร่วมสมัย ข. หลักฐานภายนอก ค. หลักฐานชั้นรอง ง. หลักฐานอิงประวัติศาสตร์ 3. ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ 1. ต้องได้รับการยืนยันจากนักวิชาการเท่านั้น เป็นเรื่องจริงที่เกิดขึ้นและได้รับการยอมรับว่าเป็นความจริง ต้องได้รับการยืนยันด้วยหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรเท่านั้น >๓ 0 เป็นเหตุการณ์ทีเกิดขึ้นในอดีตโดยมีหลักฐานทางโบราณคดีมายืน ยันหรืออ้างอิง 4. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะสําคัญของข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ 1. ตีความจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ได้โดยง่าย 2. เป็นข้อมูลของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต 3. เป็นข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์แล้ว 4. มีหลักฐานแบบลายลักษณ์อักษรและไม่เป็นลายลักษณ์อักษรอ้างอิ = 5. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะสําคัญของความจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ 1. เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและได้รับการยอมรับว่าเป็นความจริง 2. ต้องมีหลักฐานขั้นปฐมภูมิยืนยัน 3. เป็นเหตุการณ์ที่คนส่วนใหญ่ให้การยอมรับมาเป็นเวลานาน 4. ต้องผ่านการวิเคราะห์ตีความจากนักประวัติศาสตร์ 6. วิธีการตีความหลักฐานทางประวัติศาสตร์ข้อใดถูกต้องที่สุด

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
สังคมศึกษา มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่า สังคม ม.2 จะต้องส่งแล้วงับ🥺😭

เรื่องราวในประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นมาแล้วจะมีความน่าเชื่อถือหากเป็นกรณี ใด ก.ผู้เขียนเป็นราชนิกุล ข.มีหลักฐานอ้างอิงสนับสนุน ค.มีการเรียบเรียงอย่างสละสลวย ง. ผู้เขียนเป็นบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ 2. พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) เป็นหลักฐานประเภทใด 1. หลักฐานร่วมสมัย ข. หลักฐานภายนอก ค. หลักฐานชั้นรอง ง. หลักฐานอิงประวัติศาสตร์ 3. ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ 1. ต้องได้รับการยืนยันจากนักวิชาการเท่านั้น เป็นเรื่องจริงที่เกิดขึ้นและได้รับการยอมรับว่าเป็นความจริง ต้องได้รับการยืนยันด้วยหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรเท่านั้น >๓ 0 เป็นเหตุการณ์ทีเกิดขึ้นในอดีตโดยมีหลักฐานทางโบราณคดีมายืน ยันหรืออ้างอิง 4. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะสําคัญของข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ 1. ตีความจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ได้โดยง่าย 2. เป็นข้อมูลของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต 3. เป็นข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์แล้ว 4. มีหลักฐานแบบลายลักษณ์อักษรและไม่เป็นลายลักษณ์อักษรอ้างอิ = 5. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะสําคัญของความจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ 1. เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและได้รับการยอมรับว่าเป็นความจริง 2. ต้องมีหลักฐานขั้นปฐมภูมิยืนยัน 3. เป็นเหตุการณ์ที่คนส่วนใหญ่ให้การยอมรับมาเป็นเวลานาน 4. ต้องผ่านการวิเคราะห์ตีความจากนักประวัติศาสตร์ 6. วิธีการตีความหลักฐานทางประวัติศาสตร์ข้อใดถูกต้องที่สุด

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
สังคมศึกษา มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่า สังคม ม.2 จะต้องส่งแล้วงับ🥺😭

เรื่องราวในประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นมาแล้วจะมีความน่าเชื่อถือหากเป็นกรณี ใด ก.ผู้เขียนเป็นราชนิกุล ข.มีหลักฐานอ้างอิงสนับสนุน ค.มีการเรียบเรียงอย่างสละสลวย ง. ผู้เขียนเป็นบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ 2. พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) เป็นหลักฐานประเภทใด 1. หลักฐานร่วมสมัย ข. หลักฐานภายนอก ค. หลักฐานชั้นรอง ง. หลักฐานอิงประวัติศาสตร์ 3. ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ 1. ต้องได้รับการยืนยันจากนักวิชาการเท่านั้น เป็นเรื่องจริงที่เกิดขึ้นและได้รับการยอมรับว่าเป็นความจริง ต้องได้รับการยืนยันด้วยหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรเท่านั้น >๓ 0 เป็นเหตุการณ์ทีเกิดขึ้นในอดีตโดยมีหลักฐานทางโบราณคดีมายืน ยันหรืออ้างอิง 4. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะสําคัญของข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ 1. ตีความจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ได้โดยง่าย 2. เป็นข้อมูลของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต 3. เป็นข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์แล้ว 4. มีหลักฐานแบบลายลักษณ์อักษรและไม่เป็นลายลักษณ์อักษรอ้างอิ = 5. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะสําคัญของความจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ 1. เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและได้รับการยอมรับว่าเป็นความจริง 2. ต้องมีหลักฐานขั้นปฐมภูมิยืนยัน 3. เป็นเหตุการณ์ที่คนส่วนใหญ่ให้การยอมรับมาเป็นเวลานาน 4. ต้องผ่านการวิเคราะห์ตีความจากนักประวัติศาสตร์ 6. วิธีการตีความหลักฐานทางประวัติศาสตร์ข้อใดถูกต้องที่สุด

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
สังคมศึกษา มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่า สังคม ม.2 จะต้องส่งแล้วงับ🥺😭

เรื่องราวในประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นมาแล้วจะมีความน่าเชื่อถือหากเป็นกรณี ใด ก.ผู้เขียนเป็นราชนิกุล ข.มีหลักฐานอ้างอิงสนับสนุน ค.มีการเรียบเรียงอย่างสละสลวย ง. ผู้เขียนเป็นบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ 2. พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) เป็นหลักฐานประเภทใด 1. หลักฐานร่วมสมัย ข. หลักฐานภายนอก ค. หลักฐานชั้นรอง ง. หลักฐานอิงประวัติศาสตร์ 3. ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ 1. ต้องได้รับการยืนยันจากนักวิชาการเท่านั้น เป็นเรื่องจริงที่เกิดขึ้นและได้รับการยอมรับว่าเป็นความจริง ต้องได้รับการยืนยันด้วยหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรเท่านั้น >๓ 0 เป็นเหตุการณ์ทีเกิดขึ้นในอดีตโดยมีหลักฐานทางโบราณคดีมายืน ยันหรืออ้างอิง 4. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะสําคัญของข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ 1. ตีความจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ได้โดยง่าย 2. เป็นข้อมูลของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต 3. เป็นข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์แล้ว 4. มีหลักฐานแบบลายลักษณ์อักษรและไม่เป็นลายลักษณ์อักษรอ้างอิ = 5. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะสําคัญของความจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ 1. เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและได้รับการยอมรับว่าเป็นความจริง 2. ต้องมีหลักฐานขั้นปฐมภูมิยืนยัน 3. เป็นเหตุการณ์ที่คนส่วนใหญ่ให้การยอมรับมาเป็นเวลานาน 4. ต้องผ่านการวิเคราะห์ตีความจากนักประวัติศาสตร์ 6. วิธีการตีความหลักฐานทางประวัติศาสตร์ข้อใดถูกต้องที่สุด

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1