ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ

4. แรงยึดเหี่ยวซึ่งเกิดขึ้นระหว่างโมเลกุลของสารประกอบโคเวเลนต์ได้แก่แรงชนิดใดบ้าง และแรงต่าง ๆ มีลักษณะ อย่างไร 5. พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ข้อใดถูกเขียนเครื่องหมาย / หรือข้อใดผิดเขียนเครื่องหมาย X สาเหตุที่ทำให้จุดเดือดและจุดหลอมเหลวของสารประกอบโคเวเลนซ์ต่ำ เพราะ แรงยึดเหนี่ยวระหว่าง โมเลกุลต่ำ สารประกอบโคเวเลนต์นำไฟฟ้าในสถานะแก๊สเท่านั้น สารประกอบโคเวเลนต์มีทิศทางของพันธะไม่แน่นอน แต่มีรูปร่างโมเลกุลแน่นอน การเกิดปฏิกิริยาของสารประกอบโคเวเลนต์จะเกิดขึ้นอย่างช้า ๆ สารประกอบโคเวเลนต์ส่วนใหญ่ละลายน้ำได้น้อย สารโคเวเลนต์ไม่มีขั้ว จะมีจุดเดือดจุดหลอมเหลวต่ำ ๆ เพราะโมเลกุลยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงลอนดอน อย่างเดียวเท่านั้น โครงสร้างเป็นโครงผลึกร่างตาข่าย เช่น เพชร แกรไฟต์ จะมีจุดเดือดจุดหลอมเหลวสูง

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ สอบถามผู้รู้ค่ะ

ใบงาน เรื่อง พันธะโคเวเลนต์ คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ 1. จงขีดเส้นใต้คำที่อยู่ในวงเล็บที่ทำให้ข้อความต่อไปนี้มีความถูกต้อง พันธะโคเวเลนต์เกิดจากการรวมตัวของอะตอมของธาตุต่าง ๆ ระหว่างอโลหะกับ (โลหะ/อโลหะ) โดย เกิดการใช้อิเล็กตรอนร่วมกันเป็นคู่ ๆ เมื่ออะตอมของธาตุใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน จะทำให้อะตอมมีความ (เสถียร/อิสระ) มากขึ้น การที่อะตอมจะมี มีลักษณะดังกล่าวได้ (เวเลนซ์อิเล็กตรอน/อิเล็กตรอน) ต้องมีค่า เท่ากับ 8 เหมือน (ธาตุแฮโลเจน/แก๊สเฉื่อย) โดยการรวมกันเป็นโมเลกุลของธาตุ อะตอมของธาตุจะเคลื่อนที่เข้า มาใกล้กันทำให้เกิด (แรงผลัก/แรงดึงดูด) ระหว่างอิเล็กตรอนของอะตอมหนึ่งกับอิเล็กตรอนของอีกอะตอมหนึ่ง และเกิด (แรงผลัก/แรงดึงดูด) ระหว่างอิเล็กตรอนอะตอมหนึ่งกับโปรตอนในนิวเคลียสของอีกอะตอมหนึ่ง ซึ่ง เมื่ออะตอมทั้งสองเคลื่อนที่เข้ามาใกล้กันมีระยะห่างระหว่างนิวเคลียสมีความเหมาะสมในการเกิดพันธะ พบว่า แรงดึงดูดมีค่าเท่ากับแรงผลักทาให้พลังงานศักย์ของอะตอมมีค่า (ลดลง/เพิ่มขึ้น) 2. พันธะโคเวเลนต์ มีกี่ชนิด อะไรบ้าง ยกตัวอย่างประกอบ 3. จงเขียนสูตรโมเลกุลของสารประกอบโคเวเลนต์ต่อไปนี้ สูตรโมเลกุล ไดไนโตรเจนไตรออกไซด์ ฟอสฟอรัสเพนตะคลอไรด์ คาร์บอนมอนอกไซด์ ไดฟอสฟอรัสเพนตะออกไซด์ ไนโตรเจนไตรคลอไรต์

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
คณิตศาสตร์ มัธยมปลาย

แล้ว นี่แทนอะไรหรอคะ แล้วข้อ7ควรใช้เครื่องหมายไหนหรอคะ

F แทน ประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นเท็จ ให้พิจารณาค่าความจริงของประพจน์แต่ละข้อ เขียนประพจน์ พร้อมตัวเชื่อมประพจน์ แล้วบอกค่าความจริงของประพจน์ต่อไปนี้ 1 + 1 = 2 และ 1 + 3 = 4 TVT TT TAT จะได้ T มีค่าความจริงเป็น 4 และ 6 เป็นสมาชิกของ {2, 4} TVศ TF TAF จะได้ ศ มีค่าความจริงเป็น T 3. 3 - 5 = 2 หรือ 3 - 5 = -2 FAT FT FVT จะได้ T มีค่าความจริงเป็น 4. 7 + 8 = 9 แล้ว 9 + 2 = 4 FAศ FVF จะได้ มีค่าความจริงเป็น T ถ้า 1 ปี มี 13 เดือน แล้ว 1 สัปดาห์มี 7 วัน จะได้ FAT FVT มีค่าความจริงเป็น ศ 1 + 4 = 9 ก็ต่อเมื่อ 4 > -3 FAT FVT FT FT จะได้ ศ มีค่าความจริงเป็น T แมวเป็นสัตว์น้ำ แต่ปลาเป็นสัตว์ปีก FAF FVF Fค จะได้ มีค่าความจริงเป็น ศ

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
คณิตศาสตร์ มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ ขอบคุณค่ะ

แบบฝึกทักษะที่ 2 คำชี้แจง พิจารณาข้อความต่อไปนี้ แล้วทำเครื่องหมาย หน้าข้อความที่ถูก และใส่เครื่องหมาย X หน้าข้อความที่เท็จ 1. /9 + N16 เป็นจำนวนนับ 2. ถ้า a เป็นจำนวนตรรกยะ แล้ว Na เป็นจำนวนอตรรกยะ 3. /-7 เป็นจำนวนจริง a เป็นจำนวนตรรกยะ 4. ถ้า a, b เป็นจำนวนเต็มและ b + 0 แล้ว b / 5. N7. 9TC TT ทุกจำนวนเป็นจำนวนอตรรกยะ 6. จำนวนตรรกยะทุกจำนวนเป็นจำนวนเต็ม 7. จำนวนอตรรกยะทุกจำนวนเป็นจำนวนจริง 8. 2 - N3 เป็นจำนวนอตรรกยะ 9. T + e เป็นจำนวนอตรรกยะ ... 10. 0.020020002. เป็นจำนวนตรรกยะ 11. 0.001 เป็นจำนวนตรรกยะ 12. มีจำนวนเต็มที่มากที่สุดที่น้อยกว่า 1 13. จำนวนจริงบางจำนวนเป็นจำนวนตรรกยะ 14. ถ้า a เป็นจำนวนตรรักยะ และ b เป็นจำนวนอตรรกยะ แล้ว a + b เป็นจำนวน อตรรกยะเสมอ 15. ถ้า a เป็นจำนวนตรรกยะ และ b เป็นจำนวนอตรรกยะ แล้ว ab เป็นจำนวนอตรรกยะเสมอ 16. ถ้า a เป็นจำนวนอตรรกยะแล้ว Na เป็นจำนวนอตรรกยะ 17. มีจำนวนเต็มบางจำนวนเป็นจำนวนอตรรกยะ / 18. เซตของจำนวนเต็มเป็นสับเซตแท้ของเซตของจำนวนตรรกยะ 19. ถ้า x เป็นจำนวนจริงที่ไม่ใช่จำนวนตรรกยะ แล้ว x เป็นจำนวนอตรรกยะ 20. N10 มีค่าอยู่ระหว่างจำนวนเต็มบวก 3 และ 4 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยเราหน่อยน้า เราทำไม่ได้ค่ะ

ใบงาน เรื่อง ตารางธาตุ คำชี้แจง : ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย / หน้าข้อความที่ถูกต้อง และเครื่องหมาย X หน้าข้อความที่ไม่ถูกต้อง พร้อมทั้งแก้ไขข้อความนั้นให้ถูกต้อง 1. ปัจจุบันใช้เลขอะตอมและสมบัติทางเคมีเป็นเกณฑ์ในการจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ 2. การจัดเรียงธาตุในรูปแบบของตารางของเมนเตเลเยฟยีดหลักการจัดเรียงธาตุตามมวลอะตอมจาก น้อยไปหามาก 3. ถ้าพิจารณาธาตุในตารางธาตุตามหมู่จากบนลงล่าง สมบัติของธาตุมีความสัมพันธ์กันตามจำนวน เวเลนต์อิเล็กตรอนที่เพิ่มขึ้น 4. ธาตุในหมู่ 34 มีสมบัติความเป็นโลหะเพิ่มขึ้นตามเลขอะตอม 5. ธาตุ 2 มีเวเลนต์อิเล็กตรอนเท่ากับ 8 ธาตุ Z จัดอยู่ในหมู่ 5A ของตารางธาตุ 6. เฮนรี่ โมสลีย์ จัดเรียงธาตุตามเลขอะตอมที่เพิ่มขึ้นจากน้อยไปมาก และจัดธาตุที่มีสมบัติคล้ายคลึงกัน ให้อยู่ในหมู่เดียวกัน 7. ธาตุหมู่เดียวกันจะมีระดับพลังงานเท่ากัน ส่วนธาตุคาบเดียวกันจะมีเวเลนต์อิเล็กตรอนเท่ากัน 8. ธาตุ A B C และ D มีเลขอะตอม 135 และ 7 ตามลำดับ ธาตุ D เป็นธาตุที่มีความเป็นโลหะมากที่สุด

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
1/3