ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

ภาษาอื่นๆ มัธยมปลาย

วิชาวิทย์โลกค่ะ ช่วยอธิบายข้อ14 15 หน่อยค่ะ ไม่ค่อยเข้าใจ

กิจกรรมที่ 7 : การคำนวณเกี่ยวกับการโคจรของดาวเคราะห์ สถานีอวกาศนานาชาติ (ISS) โคจรอยู่รอบโลกด้วยความสูงประมาณ 400 กิโลเมตร หาก โลกมีรัศมี 6,400 กิโลเมตร และมีมวล 6 x 10* กิโลกรัม สถานีอวกาศนานาชาติจะต้อง โคจรด้วยอัตราเร็วเท่าใด (12 อัตราเร็วหลุดพ้นจากบนพื้นโลก มีค่าเท่าใด 8 ดาวเทียมสื่อสารและดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาหลายดวง จำเป็นต้องอยู่ในวงโคจรค้างฟ้า ซึ่งมี คาบการโคจรเท่ากับอัตราหมุนของโลก คือ 23 ชั่วโมง 56 นาที จงหาว่า ดาวเทียมจะโคจร อยู่ในวงโคจรค้างฟ้าได้จะต้องอยู่ไกลจากศูนย์กลางของโลกเท่าใด กำหนดให้โลกมีมวล 6 x 10 กิโลกรัม 13 ตาวหางดวงหนึ่งโคจรรอบดวงอาทิตย์ โดยมีคาบการโคจร 76 ปี จงหาระยะครึ่งแกนหลักของดาวหางนี้ 9 ดวงจันทร์ของโลกมีรัศมีวงโคจร 384,000 กิโลเมตร ถ้าโลกมีมวล 6 x 10% กิโลกรัม ดาวเคราะห์น้อยดวงหนึ่งกวาดพื้นที่ไป 1 ของวงโคจรภายในระยะเวลา 4 เดือน คาบการโคจรของ 14 ดาวเคราะห์น้อยตวงนี้มีค่าเท่าใด ดวงจันทร์จะต้องโคจรด้วยอัตราเร็วเท่าใด จึงจะสามารถโคจรเป็นวงกลมรอบโลกได้ (10 หากสามารถบีบอัดดวงอาทิตย์ให้มีขนาดเล็ก ความเร็วหลุดพ้นจากพื้นผิวจะมีค่ามากกว่า 15 หากดาวเคราะห์น้อยดวงหนึ่งกวาดพื้นที่ไป 1 ของวงโคจร ในเวลา 2 เดือน คาบการโคจร ของดาวเคราะห์น้อยดวงนี้มีค่าเท่าใด ความเร็วแสง นั่นหมายความว่า แสงจะไม่สามารถหนีออกมาจากดวงอาทิตย์ได้ ซึ่งจะกลาย เป็นหลุมดำ ถ้าดวงอาทิตย์มีมวล 2 x 10 กิโลกรัม ความเร็วแสงเท่ากับ 3 x 10 เมตรต่อ วินาที จงหาว่า จะต้องบีบอัดดวงอาทิตย์ให้มีขนาดเล็กกว่าเท่าใด จึงจะกลายเป็นหลุมดำได้ (16 ปัจจุบันพบดาวเคราะห์น้อยในระบบสุริยะส่วนมากมีระยะครึ่งแกนหลักอยู่ระหว่างดาวอังคาร และดาวพฤหัส หากระยะครึ่งแกนหลักของดาวเคราะห์น้อยตวงหนึ่งมีค่าเท่ากับ 2 หน่วยดาราศาสตร์ ดาวเคราะห์น้อยดวงนี้จะมีคาบการโคจรกี่ปี 11 หากโลกมีมวลเพิ่มขึ้น 4 เท่า แต่ระยะห่างระหว่างโลกกับดวงจันทร์และมวลของดวงจันทร์ ยังคงเดิม คาบการโคจรของดวงจันทร์รอบโลกใหม่จะกลายเป็นเท่าใด เมื่อกำหนดให้ 17 ดาวเคราะห์ดวงหนึ่งมีมวลและรัศมีเป็น 2 เท่าของโลก แรงโน้มถ่วงพื้นผิวของดาวดวงนี้จะ มีค่าอย่างไรเมื่อเทียบกับโลก คาบการโคจรของดวงจันทร์ปัจจุบันเท่ากับ 27 วัน

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ภาษาไทย มัธยมปลาย

เรางงกับการเขียนเป็นผังมากๆ

หแย๑ด๑"กเซแรแเร 17:43 @ =.12( 1 ๕๐ @ ยทเงอ.9000๐9เอ.๐๐ทา ๑๑๑ (บทความที่ ๑๒) เด็กไทยกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ก่อนวันเด็กแห่งชาติ 1 วัน คือเมือวันที่ 9 มกราคม พ.ศ.2558 ในรายการเจาะข่าวเข้านี้ของสถานีวิทยุจุฬา ตร ธีรารัตน์ พัน โทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คือ ตร.พิเซฐ ตุรงคเวโรจน์ ว่าเด็กไทยจะช่วยสร้างชาติได้ อย่างไรผ่านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้เขียนเห็นว่าถ้านักเรียนได้อ่านบทความนี้ น่าจะเกิดความสนใจและตั้งใจเรียนวิทยาศาสตร์ กันมากขึ้น ถ้าคนไทยจํานวนมากเก่งวิทยาศาสตร์ สิ่ที่จะตามมาซึ่งจะช่วยให้ประเทศสามารถแข่งขันกับนานาขาติได้ใบเวทีโลก ก็คือ นวัดกรรม เทคโนโลยีใหม่ๆ และทรัพย์สินทางปัญญา. ถึงแม้ว่าเด็กและเยาวชนส่วนหนึ่งเก่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาก จนได้รับรางวัลระดับนานาชาติดังที่มีข่าวเป็นระยะๆ แต่เมื่อมองในภาพรวมยังถือว่ามีจํานวนน้อย กล่าวคือเด็กไทยสนใจ เรียนต่อด้านวิทยาศาสตร์น้อย และแม้จะมีการเรียนการสอน วิทยาศาสตร์อยู่โนหลักสูตรทุกระดับตั้งแต่ประถมศึกษาจนอุตมศึกษา แต่กไม่ตั้งใจเรียนวิทยาศาสตร์ ในสภาพการณ์ปัจจุบันของเรา มีเหตุปัจจัยหลายประการที่ทําให้คนส่วนไหญ่ไม่สนใจเรียนต่อด้านวิทยาศาสตร์ หรือถึง เรียนตามหลักสูตรก็เรียนแบบไม่ตั้งใจ เรียนแบบท่องจํา หรือเรียนเพียงเพื่อสอบให้ผ่าน ปัจจัยที่สําคัง ัญประการแรกคือขาดแรง บันตาลใจ ดร.พิเซฐ กล่าวว่า จะต้องหาต้นแบบที่เก่งและประสบความสําเร็จทางด้านวิทยาศาสตร์ และเป็นที่เด็ก ๆ เห็นว่าเท่ อยาก เอาเป็นแบบอย่าง มาช่วยพูดช่วยเล่าประสบการณ์เพื่อให้เห็นประโยชน์ เห็นคุณค่า และกระตุ้นความสนใจวิชาวิทยาศาสตร์ ทาง กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเองก็มีกิจกรรมหลายอย่างสนับสนุนการสร้างแรงบันตาลใจ มีถนนสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งในช่วง วันเด็กแห่งชาติปีนี้จัดเพิ่มเป็น 3 วัน และจัดเพิ่มขึ้นหลายแห่ง มีสถาบันตาราศาสตร์แห่งชาติที่มีกล้องตูตาวซึ่งมีขนาดใหญ่ที่สุดใน. อาเซียนที่ดอยอินทนนท์ นอกจากจะให้ความรู้แก่ผูที่มีโอกาสไปเยี่ยมชม ยังได้เผยแพร่ข้อมูลความรู้ด้านตาราศาง เรียนรู้ของจังหวัดต่างๆ ด้วย เพื่อสร้างความพิศวงและความสนใจอยากรู้อยากเห็นให้แก่เด็กนักเรียนและผู้สนใจ วิทยาศาสตร์ที่จังหวัดปทุมธานี มีรถคาราวานวิทยาศาสตร์กระจายความรู้ไปตามโรงเรียนต่างๆ ทั่วประเทศ เป็นต้น ปัจจัยต่อมาคือ ในโรงเรียนส่วนใหญ่กระบวนการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ยังไม่ดี เนื่องจากขาดแคลนครูสอนวิทยาศาสตร์ที ปัญหานี้กําสังหาทางแก้ไข เช่น ขอให้มหาวิทยาลัย 5 แห่งเข้าไปช่วยปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ และ กําลังพิจารณาหาทางให้ผู้เรียนจบสาขาวิทยาศาสตร์โดยตรงเป็นครูผู้สอน ดังที่หลายประเทศทํากัน หาวิธีลตภาระงานครู และ จริงโดยส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือกันระหว่างภาคการศึกษากับภาคเอกชน ซึ่งนอกจากเป็นการเรียนรู้นอกห้องเรียน ยังจะช่วย ความรู้ความเข้าใจถึงประโยชน์ของการนําวิทยาศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในการประกอบกิจการ ปัจจัยประการสุดท้าย คือเรื่องตําแหน่งการงานสําหรับผู้เรียนจบทางด้านวิทยาศาสตร์ ปัจจุบันกล่าวได้ว่างานที่จะร ยังมีน้อย สําหรับแนวทางแก้ปัญหานี้ ตร.พิเซฐ มีความเห็นว่าควรหาทางสนับสนุนและขี้แนะให้ภาคการผลิตของเอกชน เร ความสําคัญของการมีหน่วยวิจัยพัฒนาตังเช่นบริษัทใหญ่ๆ ในต่างประเทศ เพื่อปรับปรุงกระบวนการผลิต เพิ่มคุณภาพผลิตภัณฑ์ ตลอดจนสร้างนวัตกรรมและทรัพย์สินทางปัญญา ในระยะยาวจะได้สามารถแข่งขันกับประเทศอื่นได้ในเวทีโลก ดังนั้นถ้าภาคเอกชน มีงานวิจัยพัฒนาเพิ่มขึ้น ตําแหน่งงานรองรับนักวิทยาศาสตร์ก็จะมีมากขึ้น สําหรับทรัพย์สินทางปัญญา ประเทศเรามีศักยภาพที่จะ ทําให้เกิดขึ้นได้มากพอควร เพราะในภาครัฐเช่นสถาบันอุดมศึกษา มีผู้มีความรู้ความสามารถไม่น้อยที่มีผลงานวิชาการที่สามารถ นํามาต่อยอดได้ แต่เนื่องจากจ ค์หลัก ทําธุรกิจเพื่อหารายได้ จึงมีงานที่เป็นทรัพย์สินทางปัญญาเกิดขึ้นไม่

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/2