ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

เคมี มัธยมปลาย

รบกวนช่วยหน่อยได้มั้ยคะ

18:50 % - ใบงานอัตราการเกิ.. ใบงานอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี วิชา เคมี 3 รหัสวิชา ว32223 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง การคำนวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ชื่อ - สกุล เวลา 15 นาที ชั้น เลขที่....า 1. สมการ 3A + 4B 5C + 20 จงเขียนความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการเกิดปฏิกิริยากับอัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณสารในปฏิกิริยาเคมี 2. สาร X ทำปฏิกิริยากับ Y ได้ผลิตภัณฑ์เป็นสาร Z จากการทดลองพบว่า 3 อัตราการลดลงของสาร X เท่ากับ 3/4 เท่าของอัตราการลดของสาร Y และอัตราการลดลงของสาร Y เท่ากับ 2/3 เท่าของอัตราการเพิ่มของสาร Z จงเขียนสมการของปฏิกิริยา 3. สมการ A + 3B , 2C จากการทดลองใช้สาร A 1 mol/L 10 mL ทำปฏิกิริยาพอดีกับ B 1 mol/L, 10 mL เมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยาพบว่าเกิดสาร C เท่ากับ 10 x 10 - mo/L ในเวลา 5 วินาที จงหาอัตราการลดลงของ A และ B moL.s 4. สมการ A + 3B , 20 ได้ผลการทดลองดังนี้ ความเข้มข้น A (mol/L) X 5.5 3.2 2.2 1.5 เวลา (s) 5 20 60 90 145 จากตาราง สารละลาย A มีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเท่ากับ 4x10-3 mol/Ls จงหาค่า X 5. สมการ 3A (g) 3 B (g) + 20 (g) การสลายตัวของ A ได้ผล ดังนี้ เวลา (s) 0 200 400 800 1,000 [A] (mol/L) 5.5 4.5 2.6 1.8 0.2 จากการทดลอง จงหาอัตราการเกิดของ B ในช่วงเวลา 0 - 200 วินาที เท่ากับกี่ mo/Ls

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

อันนี้ทำยังไงเหรอคะ ช่วยหน่อยค่ะ

66 เคมี ม.5 เล่ม 1 กิจกรรมตรวจสอบการเรียนรู้ที่ 2.1 2.1 ก จงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. จากสมการเคมีและกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณของสารกับเวลาที่กำหนดให้ดังนี้ เกิดขึ้นรวด จำนวนโมสของสาร C (mol) สามารถเขี 5 2A+B - C+3D 3 -- 2 1 - 0 20 40 60 80 100 120 1.1 สาร D จะเกิดขึ้นกีโมล 1.2 สาร A และ B หมดไปจำนวนเท่าไร 1.3 ทราบหรือไม่ว่านำสารตั้งต้นมาจำนวนเท่าไร เพราะเหตุใด 2. ถ้านำสาร A มา 5 โมล สาร B 2 โมล ทำปฏิกิริยากัน เมื่อสินสุดปฏิกิริยาจะได้สาร C 2 โมล สาร D 1 โมล และมีสาร A เหลืออยู่ 1 โมล 2.1 เขียนสมการแสดงปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้น เวลา (s) 2.2 เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณของสารกับเวลา 2.ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ะการเลือกใช้สารใมปฏิกิริยเพื่อให้ ย - - - - - - - - -

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

มีใครพอจะช่วยได้มั้ยคะ😭😭

3.2 จงคำนวณหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย mol.s 4 จากปฏิกิริยา 2A + 3B ถ้าความเข้มข้นของ A ลดลงจาก 0.568 M เป็น 0.552 M ในช่วง เวลา 2.50 นาที จงคำนวณหาอัตราการเกิดสาร B ก. 1.60 x 104 M/s 1.07 x 104 M/ s ค. 7.11 x 105 M/ s ง. 3.55 x 10 M/ s 5.จากปฏิกิริยาต่อไปนี้ 2AL + 3 H,SO, + AL(SO,), + 3H2 จากการทดลองพบว่าในเวลา 10 วินาที ใช้ AL หมดไป 13.5 กรัม จงคำนวณอัตราการเปลี่ยนแปลง H,SO, และ H) เป็นโมล/ลิตร.วินาที (Al=27) 6.จากปฏิกิริยาต่อไปนี้ Fe(s) + 2HCL + FeCl, + H2 พบว่าเมื่อทดลองได้ 10 วินาที เหล็กกร่อนไป 7 กรัม จงหาอัตราการเกิด FeCl, และอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 7.แก๊ส N,O, สลายตัวดังสมการ 2 N,O, + 4NO, + 0, ได้ผลการเปลี่ยนแปลง ดังนี้ เวลา(s) ความเข้มข้นของ N,0, (mol/dm) 0 X 500 3.5 1000 2.5 1500 1.8 2000 1.2 ถ้าอัตราการสลายตัวเฉลี่ยของ N,O, เท่ากับ 1.9x10 mol/dm.s จงหาปริมาณ x จะมีความเข้มข้นกี่ mol/dm และอัตราการเกิดแก๊ส O, ในช่วงเวลา 0-500 วินาทีเป็นเท่าไร ...

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย

ข้อนี้ทำยังไงคะ เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีค่ะ

ค0)เมื่อให้ X ทำปฏิกิริยากับ Y เกิดผลิตภัณฑ์ XY3 ดังสมการ X(g) + 3Y(g) - XY3(g) ดังตาราง การทดลองที่ [X] (mol/dm) [Y] (mol/dm) อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (mol-dms ) 1 0.3 9.4 1.4 x 103 2 0.6 0.8 5.6 x 103 3 1.2 0.8 1.12 x 102 ข้อความใดสรุปถูกต้อง 1. ความเข้มข้นของ X มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยามากกว่าความเข้มข้นของ Y 2. Y เป็นสารตั้งต้นที่ปรากฏในกลไกขั้นที่เกิดเร็ว 3. อัตราการเกิดปฏิกิริยาขึ้นกับความเข้มข้นของ X และ Y 4. สรุปไม่ได้ว่าอัตราการเกิดปฏิกิริยาขึ้นกับความเข้มข้น Y หรือไม่ 21) กราฟ เป็นกราฟจากการสลายตัวของสารละลาย H2O2 เข้มข้น 1 mol/dm จำนวน 100 cm มีแมงกานีส - 2H2O(1) + O2(aq) ออกไซด์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาดังสมการ 2H,O.(aq)

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย

มีใครพอจะทราบไหมคะ ว่าทำไมข้อ 4 ถึงตอบ 0.5 พอดีเรากลับมาอ่านใหม่ แล้วรู้สึกงงๆ ค่ะ ;-; (เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีค่ะ)

จากข้อมูลในตาราง โดยใช้ ล และ 3 เป็นสารตั้งต้นได้ผลดังนี้ ธุ99 [9 ร เต อัตราการเกิดปฏิกิริยา (เ๒อ1สักป์.9) อ]/ฝกก า0]/ฝใกมิ 4ต ัญา5 อ เถ กรรซะ ” 1.00 2.00 รุ๊ ง) 40 60 9 อ 3 ฉิ ว9 วเกก 72 : ย รัฬ 500 | ? | 1260 ) วูเท๋๑ หัฑ์ต์ ห 1.00 4.00 40] 3123 4 100 6.00 ฮูอ | 2.00 8.00 ต 400 พญ 96 หรั่อ 6 7อ] ก 8 = ไผปโ8] สุย]โ7 6ว 12| %( อ = งโช) ผิะ 16 (ลา 87 ค. 2 = พ[181* [รวโญ ง. อ = แงโธ1* ฯร 2. จงเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาทีเกิดขึน 1 จงหากฎอัตรา 6อ 1 8 --” 0๐0+30 (4+@3) --> 30 + 40 1 58? 3 จงหาค่า ฟ, 7.2 ดูจากมภกร (รเคเลย) 0) 0 8 ๓«6 150 16 64 ค. 2 100 32 . 0 16 22 น อัตราการเกิดปฏิกิริยาเป็นกี่เท่าของการสลายตัวของ 8 05 เซ่ ปอร น ข. 10 1 ค, 20 อ ซิซะ -> หร * ว20 ๆๆ 7 เค้า เ ผู เหลีตัวยท

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ไปไม่เป็นแล้วค้าบบบ สมองจิบึ้มแย้วว 🥺🥺

เด จ็ เป็นหนึ่งในปฏิกิริยาในชีวิตประจําวันที่พบเห็นได้ง่าย เป็นปฏิก ปฏิกิริยาการเกิดสนิมเหล็ก - ก “- ว มชื้น ซึ่งจะเปลี่ยนให้เหล็กกลายเป็นเหล็กออก ที่เกิดระหว่างเหล็กกับนําหรือควา ว ชร - - ะสังเกตเห็นการเปลี่ยนสีของเหล็กได้ดั: หรือเรียกว่าสนิมเหล็ก (5๐9,0,. -3.0) จะสงเก ด ดั้งสมการ 0 3ส 5 4ม6 (8) + 30, ) ร50 - 30อ. : - (9 ๑, ซ่ ง 12: ข้อใดเป็นคําตอบที่ถูกต้องของค่า % อ = ร ณ์ ด 13. จงคํานวณหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีในปฏิกิริยาการเกิดสนิมเหล็ก (หน่วย ก0/กล หากเหล็ก (6๐) ถูกใช้ไป 0.0001 !] ในเวลา 100 ชัวโมง ก 10* 0 101 . 10” ' 10”* อ - ฒ- = 4 | = ' ๓ ๓ ย 6 ๑ ส3 นักเคมีคนหนึ่งละลายโซเดียมคลอไรด์ 30 กรัม ในนํากลัน 300 ลูกบาศก์เซนติเม ซ่ เฮง. ง อ สารละลายที่เตรียมได้จะมีความเข้มขันร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร (%พ//ง) เท่าใด ก. 3%พพ 10 %พ/“ ข. 15%พ/" 30 %พศพ ค. 9 ส5 |!222 เจ” เกต้องเกียวกับปฏิกิริยาเผาไหม้

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยตอบหน่อยจ้า

จงพิจารณาว่าข้อใดถูกหรือข้อใดผิด พต พ การเกิดปฏิกิริยาเคมีจะต้องมีการสลายพันธะเดิมก่อนแล้วจึงสราง พันธะใหม่ขึ้น 5 ต เดล๕ 5 0 การชนในทิศทางที่เหมาะสมจะช่วยให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี เพิ่มมากขึ้น พลังงานที่มากที่สุดสําหรับปฏิกิริยาเคมีใดๆ เรียกว่า พลังงาน ก่อกัมมันต์ แม้พลังงานของการชนนัอยกว่าพลังงานก่อกัมมันต์ก็สามารถเกิด ปฏิกิริยาเคมีได้ 5. ปฏิกิริยาใดที่มีค่าพลังงานก่อกัมมันต์ตําจะมีอัตราการเกิดปฏิกิริยา เคมีมากกว่าปฏิกิริยาที่มีค่าพลังงานก่อกัมมันต์สูง 6. ปฏิกิริยาต่างชนิดกัน ค่าพลังงานก่อกัมมันต์จะเหมือนกัน 7. ความเข้มขันของสารจะมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 8. สารที่มีโครงสร้างสลับขับซ้อนจะมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีมากกว่า ซ่ ล, ซู สารที่มีโครงสร้างอย่างง่าย 9. การสลายพันธะไอออนิกจะต้องใช้พลังงานมากกว่าการสลายพันธะ โควาเสนต์ การเพิ่มปริมาตรของสารทําให้โอกาสการชนของอนุภาคลดน้อยลง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจะแปรผกผันกับความเข้มขันของสาร การเพิ่มความเข้มขันจะทําให้โอกาสการชนกันของอนุภาคเพิ่มมากขึ้น 2 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจะแปรผกผันกับอุณหภูมิ การเพิ่มอุณหภูมิจะทําให้ค่าพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาลดลง การลดอุณหภูมิทําให้โมเลกุสมีพลังงานจลน์ลดลง 7 อัตราการเกิดปฏิกิริยาของแผ่นโลหะแมกนีเซียมมากกว่าแท่งโลหะ แมกนีเซียม (เมื่อให้โลหะแมกนีเซียมมีปริมาตรเท่ากัน) สารที่มีพื้นที่ผิวมากจะมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีมากกว่าสารที่มี พื้นที่ผิวน้อย . สาวที่มีพื้นที่ผิวมากจะมีค่าพลังงานถ่อกัมมันต์น้อยกว่าสารที่มีพืนที ผิวน้อยกว่า " 19.. ตัวเร่งปฏิกิริยา (0ล๒ฝ950) ทําหน้าที่เพิ่มอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี . โตยลดค่าพลังงานก่อกัมมันต์ลง : .20. น ทําให้พลังงานจสน์ของอนุภาคเพิ่มมากขึ้น 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18.

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0