ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

ภาษาไทย มัธยมปลาย

มีใครรู้ข้อ 16 ไหมคะ;-;

หน่วยที่ ๒ อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง ๒๒๔ 5. ผู้แต่งฯ ทรงพระราชนิพนธ์บทละครไว้ ๒ เรื่อง คือ ๑. ๗. ผู้แต่งฯ ทรงพระราชนิพนธ์บทละครในที่ได้รับการยกย่องว่า "เป็นยอดของบทละครรำ คือ เรื่อง ๒. ๔. วัดประจำรัชกาลของผู้แต่งฯ คือวัด ๔. ผู้แต่งฯ ทรงพระราชนิพนธ์ *บทพากย์ เรื่อง รามเกียรติ์" ไว้ทั้งหมด ตอน คือ ๑๐. ผู้แต่งฯ ทรงเป็นกวีดีเด่นที่ได้รับการยกย่องจากองค์การยูเนสโก (UNESCO) ประจำปี พ.ศ. . นับว่าเป็นคนไทยคนที่ ๑๑. ผู้แต่งฯ ทรงพระราชนิพนธ์บทละครนอกไว้ทั้งหมด เรื่อง คือ ๑๒. "อิเหนา" แต่งด้วยคำประพันธ์ประเภท. ๑๓. "อิเหนา" ตอนที่นำมาเป็นบทเรียนนี้มีชื่อว่าตอน ๑๔. ในรัชสมัยของผู้แต่งฯ ได้ชื่อว่าเป็น ๑๕. ในรัชสมัยของผู้แต่งฯ ได้มีการแปลวรรณคดีจีนไว้ ๓ เรื่อง คือ ไซ่ฮั่น ห้องสิน และ ๑๖. มีหลักฐานว่าผู้แต่งฯ โปรดการประพันธ์เป็นอย่างยิ่ง หลักฐานนั้นได้จากวรรณคดีเรื่อง ๑๗. ผู้แต่งฯ ทรงพระราชนิพนธ์บทเสภา เรื่อง ขุนช้างขุนแผนไว้ ๔ ตอน คือ ตอนที่ ๔, ตอนที่ ตอนที่ ผู้สง สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นเลยทีเดียว ๑๓, ๑๗ และตอนที่ ๑๔. ผู้แต่งฯ ได้ทรงพระราชนิพนธ์คำประพันธ์ประเภทกาพย์ไว้ ๑ เรื่องคือ . ๑๙. ผู้แต่งฯ ทรงพระราชสมภพขณะที่สมเด็จพระราชบิดาทรงดำรงพระยศเป็นหลวงยกกระบัตรเมือง พรรษา ๒๐. ผู้แต่งฯ เสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. ๒๓๖๗ รวมสิริพระชนมายุได้

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ภาษาไทย มัธยมปลาย

pls

ใบงานที่ 4.1 เรื่อง วิถลีไทย ตอนขุนช้างถวายฎีกา คำชี้แจง ให้นักเรียนพิจารณาบทประพันธ์ที่กำหนด แล้ววิเคราะห์ว่า สะท้อนสังคมและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยา และรัตนโกสินทร์ตอนตันในด้านใดบ้าง จากตัวเลือกที่กำหนดให้ ก. สะท้อนสภาพบ้านเรือนของคนสมัยก่อน ข. สะท้อนความเชื่อเรื่องไสยศาสตร์ของคนในสังคม ค. สะท้อนความเชื่อเรื่องความฝันของคนในสังคม ง. สะท้อนความเชื่อเรื่องกรรมของคนในสังคม จ. สะท้อนค่านิยมเรื่องผู้หญิงต้องมีสามีคนเดียว ฉ. สะท้อนค่านิยมความจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ ช. สะท้อนประเพณีที่กษัตริย์เสด็จประพาสท้องทุ่งในฤดูน้ำหลาก ช. สะท้อนภาพวิธีการถวายฎีกาเพื่อร้องทุกข์ ญ. สะท้อนความเชื่อเรื่องลางบอกเหตุร้าย จันทร์กระจ่างทรงกลดหมดเมฆสิ้น เสกขมิ้นว่านยาเข้าทาตัว หยิบยกมงคลขึ้นใส่หัว ฟ้าขาวดาวเด่นดวงสว่าง จึงเช่นเหล้าข้าวปลาให้พรายกิน ลงยันต์ราชะเอาปะอก เป่ามนตร์เบื้องบนชอุ่มมัว พรายยั่วยวนใจให้ไคลคลา ชอบผิดพ่อจงคิดคะนึงตรอง อันตัวน้องมลทินหาสิ้นไม่ 2. ประหนึ่งว่าวันทองนี้สองใจ พบไหนก็เป็นแต่เช่นนั้น ข้าไทนอนหลับลงทับกัน สะเดาะกลอนถอนลั่นถึงชั้นสาม 3. กระจกฉากหลากสลับวับแวววาม อร่ามแสงโคมแก้วแววจับตา ม่านมู่ลี่มีฉากประจำกัน ชมพลางย่างเยื้องชำเลืองมา อัฒจันทร์เครื่องแก้วก็หนักหนา เปิดมุ่งเห็นหน้าแม่วันทอง

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ภาษาไทย มัธยมปลาย

สรุปเรื่องจินดามณีให้หน่อยค

ทั้งปัจจุบัน ๒.๕ จินดามณี ,. จินดามณีเป็นหนังสือสําคัญเรื่องหนึ่งในการศึก ด้วยเป็นหนังสือที่รวบรวมกลวิธี รูปแบบฉันทลักษณ์ ตลอ ษาวรรณคดีตั้งแต่อดีตจนกระท ดจนตัวอย่างในการประพันธ์กวีนิพนธ์ ไว้ค่ อนข้ งสมบูรณ์ ซ่ าธิบดลงมาถ สํานวนพระเหร ง จินดามณีที ที่พบและตีพิมพ์ในปัจจุบันมีอยู่ ลิ ตั้ง นิ ฉบับพระราชนิพนธ์พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ฉบับพระ ะนิพนธ์กรมวงศาธิราชส : ผู้แต่ง แต่ในที่นี้ บรัดเลย์ ซึ่งแต่ละสํานวนมีรายละเอียดเนื้อหาแตกต่างกันไปตามจุดมุ่งหมายของผู้ "ท และฉบับหมอ ะขอกล่าวถึงเฉพาะจินดามณีสํานวนพระโหราธิบดี ดังนี้ ๑) ผู้แต่งและสมัยที่แต่ง หนังสือจินดามณีสํานวนดังกล่าว สันนิษฐานว่าเป็นสํานวน การต่งของหระโหราธิบตีที่สันนิษฐานว่าแต่งวินคาวบด กร1ะลา101 มหาราช ดังข้อความในหนังสือว่า “จินดามุณีนี้ พระโหราธิบดี เดอมอยู่เมืองสุกโขทัยแต่งถวาย แต่ครั้งสมเด็จพระ' นารายณ์เปนเจ้าลพบุรี” 5 4 แล ยสยด์ ๒) จุตมุ่งหมายในการแต่ง แต่เดิมเชื่อว่าจินดามณีแต่งขึ้นเพื่อใช้เป็นตําราแบบ เรียนภาษาไทย เพื่อใช้สั่งสอนกุลบุตรกุลธิดา แต่เมื่อพิจารณาเนื้อหาภายในเรื่องที่เป็นการรวบรวม รูปแบบคําประพันธ์ประเภทต่างๆ ไว้ พร้อมด้วยตัวอย่างคําประพันธ์ทั้งที่แต่งขึ้นใหม่ และจากกวี นิพนธ์โบราณที่ถือว่าเป็นยอดในกระบวนความต้านต่างๆ ไว้ จึงอาจทําให้พิจารณาได้ว่าจินดามณี น่าจะแต่งขึ้นเพื่อเป็นตําราการประพันธ์ขั้นสูง สําหรับนักปราชญ์ราชบัณฑิตที่จะศึกษาหาความรู้ใน เชิงกวีนิพนธ์ ทั้งนี้แนวคิดดังกล่าวมีความสอดคล้องกับร่ายประณามพจน์และบอกวัตถุประสงค์ว่ ) “...ข้อยข้าขอเขียนอาธิ อักษรปราชญ์แต่งไว้ ให้ชอบตามศัพท์ ไว้เป็นฉบับสืบสาย.,.” ๓) รูปแบบคําประพันธ์ แต่งด้วยร่ายเป็นบทประณามพจน์ จากนั้นดําเนินความด้วย ร้อยแก้วเป็นความเรียงสลับไปกับต้วอย่างคําประพันธ์ ซึ่งมีทั้งโคลง ฉันท์ รวมถึงกลบทต่างๆ ๓ เนื้อเรื่องโดยสังเขป เนื้อเรื่องของจินดามณี อาจแบ่งโดยสังเขปดังนี้ . ตอนที่ ๑ เป็นบทประณามพจน์ขอพรพระพุทธเจ้า พระสุรัสวดี แล้วบอกวัตถุประส เต้ การเขียน และขออย่าให้ติเตียนถ้าหากมีที่หนึ่งที่คผิดพลาด ตอนที่ ๒ เป็นอักษรศัพท์ ว่าด้วยการสะกดคําต่างๆ ที่ออกเสียงคล้ายกัน เช่น พระบาท - บาตรพระสงฆ์ บาศเชือกคล้อง เงินบาท บาดอาวุธ อุบาทวะ เป็นต้น 1 ส ก ร ม ตอน์ที่๓ เป็นบทนมัสการสรรเสริญคุณพระรัตนตรับให้มาชุมนุมกนช่วยแนสอให สามารถนิพนธ์จินดตามณีได้จนแล้วเสร็จ ตอนที่ ๕ เป็นการอธิบายตัวอย่างคําที่ใช้ ส ศ ษ เซ่น สรรเพชญ์ ติขร ล้| เป็นต้น คําประสมสระไอ ๒๐ คํา สระไอ ๕๐ คํา การจําแนกอักษร ๓ หมู่ การผันลักษร

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ภาษาไทย มัธยมปลาย

ช่วยหาคำตอบหน่อยค่ะ😂🙏

เรืองมงคลถู แก ฆ ฉ ๕4 4 ม = = ๕ ๐ =% กําสัง ให้นักเรียนเลือกข้อทถูกทสุดเพยงคาตอบเคย ๑. คุณค่าของมงคลสูตรคําฉันท์ ในข้อใคทีนํามา ปรับใช้ในชีวิต ได้อย่างเหมาะสมทีสุด ก. วัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมในสมัย กรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น การเลือกสรรคําทีมีความหมายงคงาม มา ร้อยเรียงได้อย่าง ไพเราะ แนวปฏิบัติที่ก่อให้เกิคความเป็นสิริมงคล ตั้งแต่มงคลที่ ๑ ถึงมงคลที่ ๓๕ พระธรรมคําสั่งสอนของพระพุทธองค์ที่ เดือนสติพระภิกษุและพุทธศาสนิกชน ๒ ข้อใคกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับลักษณะคํา - ประพันธ์ที่ใช้แต่งมงคลสูตรคําฉันท์ ก. มงคลสูครคําฉันท์แต่งโคยใช้กาพย์ ฉบัง ๑๒ และวสันตคิลกฉันท์ ข. วสันตคิลกฉันท์ ใช้บรรยายเรื่องและ เมื่อ กล่าวถึงมงคลสูตรทั้ง ๓๕ ข้อจน จบเรื่อง ค. กาพย์ฉบัง ๑» ใช้คําเนินเรื่องเมื่อกล่าวถึง พระอานนท์เล่าว่ามีเทวคามาขอให้

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0