ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

เคมี มัธยมปลาย

แบบนี้มีใครพอรู้วิธีทำไหมคะ

C แบบฝึกหัดที่ 2 1. ตัวอย่างก๊าซ 2.00 ลิตร อุณหภูมิลดลงจาก 60.0°C เป็น 30°C ปริมาตรของก๊าซนี้ ระเท่าไร 3 2. แก๊สชนิดหนึ่งมีปริมาตร 6 dm ที่อุณหภูมิ 27 °Cและความดัน 1 at ถ้า •พมอุณหภูมิเป็น 50 °C โดยควบคุมความดันให้คงที่ ปริมาตรของแก๊สคือ เท่าไร 3. เพื่อความดันคงที่ แก๊สชนิดหนึ่งมีปริมาตร 250 cm ที่ 273 Kถ้า ปริมาตรลดเหลือ 150 cm แก๊สนี้จะมีอุณหภูมิที่องศาเซลเซียส 4. The Celsius temperature of a 3.00 L sample of gas is lowered from 80.0°C to 30°C. What will be the resulting volume of this gas? 5. A helium balloon in a closed car occupies a volume of 2.32 L at 40.0°C. If the car is parkedon a hot C day and the temperature inside rises to 75.0°C, what is the new volume of the balloon, assuming the pressure remains constant?

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย

อยากรู้คำตอบ

ชื่อ แบบฝึกหัดเพิ่มเติม 1.2 เรื่อง จำนวนเลขนัยสำคัญและการปัดเลข จงบอกจำนวนเลขนัยสำคัญในข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้อง ชั้น 1. 1.1 246.90 มีเลขนัยสำคัญ ตำแหน่ง 1.7 1.005 มีเลขนัยสำคัญ ตำแหน่ง 1.2 12333 มีเลขนัยสำคัญ · ตำแหน่ง 1.8 15.06 มีเลขนัยสำคัญ ตำาแหน่ง 1.3 3.750 มีเลขนัยสำคัญ ตำแหน่ง 1.9 5.00 มีเลขนัยสำคัญ ตำาแหน่ง 1.4 4.0 มีเลขนัยสำคัญ ตำแหน่ง 1.10 5.70 x 100 มีเลขนัยสำคัญ ตำแหน่ง 1.5 0.25 มีเลขนัยสำคัญ ตำแหน่ง 1.11 25.0 x 10 มีเลขนัยสำคัญ ตำแหน่ง 1.6 0.00013 มีเลขนัยสำคัญ ตำแหน่ง 1.12 0.0030 มีเลขนัยสำคัญ ตำแหน่ง 2. จงตอบคำถามต่อไปนี้ 2.1 5.2554 ต้องการเลขนัยสำคัญ 3 ตัว ปัดเป็น 2.2 0.045 ต้องการเลขนัยสำคัญ 1 ตัว ปัดเป็น 2.3 9.4432 ต้องการเลขนัยสำคัญ 2 ตัว ปัดเป็น 2.4 0.155 ต้องการเลขนัยสำคัญ 2 ตัว ปัดเป็น 2.5 7.7893 ต้องการเลขนัยสำคัญ 2 ตัว ปัดเป็น 2.6 1.256 ต้องการเลขนัยสำคัญ 2 ตัว ปัดเป็น 2.7 2.652 ต้องการเลขนัยสำคัญ 2 ตัว ปัดเป็น 2.8 0.999 ต้องการเลขนัยสำคัญ 2 ตัว ปัดเป็น 2.9 4.33 ต้องการเลขนัยสำคัญ 2 ตัว ปัดเป็น 2.10 8.85 ต้องการเลขนัยสำคัญ 2 ตัว ปัดเป็น 2.11 8.75 ต้องการเลขนัยสําคัญ 2 ตัว ปัดเป็น 2.12 1.652 ต้องการเลขนัยสำคัญ 2 ตัว ปัดเป็น

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย

วิธีการคำนวณคิดยังไงหรอคะ ช่วยด้วยค่ะ🙏😭

คำชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ตอบคำถามข้อ 5-7 จุดของการไทเทรต ปริมาตรของ CH3COOH 0.1 โมล/ลิตร (cm) 20 20 20 20 20 20 -5 25 °C = 1.8 × 10 และ log 5 || ||| IV V VI กำหนดค่าคงที่การแตกตัวของ CH,COOH ที่ (3) จุดที่ให้การเปลี่ยนแปลงค่า pH น้อยที่สุดเมื่อหยุดการไทเทรต ปริมาตรของ NaOH 0.2 โมล/ลิตร (cm) 3.) 1.30 7.) ที่จุดยุติ (end point) ของการไทเทรต (OH) อยู่ที่โมล/ลิตร 1. 3.7 x 10-11 3. 1.6 × 10-9 ได้มาเติมกรดแก่คือจุดใด 1.) จุดที่ || 3. จุดที่ IV 6. เมื่อทำการไทเทรตถึงจุดที่ VpOH ของสารละลายที่ได้เท่ากับเท่าใด 1. 12.70 0 5 10 15 20 25 = 0.699 ณ จุดนั้น แล้วนำสารละลายที่ 2. จุดที่ III 4. จุดที่ V และ VI 2. 1.00 4. 0.60 2. 1.0 x 10-7 4.) 6.1 x 106

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

เหลืออยู่แค่ 2 หน้านี้ ไม่เข้าใจว่าทำยังไง ช่วยหน่อยได้ไหมคะ ต้องส่งภายในวันนี้ TT

โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต เอกสารประกอบการเรียนวิชาเคมี 1 (231122) บทที่ 3 หน้า 34 1.3 SB 1.5 C3H4 1. จงเขียนสูตรแบบจุด และแบบเส้นแสดงพันธะโคเวเลนต์ของสารต่อไปนี้ ตามกฎออกเดต สูตรสารประกอบโคเวเลนต์ 1.1 Br2 1.2 CS2 1.4 C2H6 เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาเคมี 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 บทที่ 3 (231122) ใบงานที่ 10 เรื่อง การเขียนสูตรและอ่านชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยรังสิต สูตรแบบจุด โดยอนุโลมว่าการรวมตัวเป็นไป สูตรแบบเส้น 20 2 เขียนสูตรโมเลกุล สูตรแบบจุด และสูตรแบบเส้นของสารประกอบระหว่างธาตุต่อไปนี้ สูตรโมเลกุล สูตรแบบจุด ธาตุ 21 ไฮโดรเจน กับซีลีเนียม 22 ไอโอดีน กับอาร์เซนิก 2.3 ไนโตรเจน กับคลอรีน 24 ซิลิคอน กับไฮโดรเจน 2.5 ออกซิเจน กับคลอรีน 2.6 โบรอน กับฟลูออรีน 3. ธาตุใดต่อไปนี้ทำปฏิกิริยากันแล้วได้สารประกอบโคเวเลนต์ ก. โซเดียวกับออกซิเจน ข. ซิลิคอนกับออกซิเจน XX เหล็กกับคลอรีน ง. คลอรีนกับโบรมีน จ. คาร์บอนกับกำมะถัน หนา 35 สูตรแบบเส้น

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/136