ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

เคมี มัธยมปลาย

อยากได้เฉลยของเเต่ละข้อค่ะ

เสร็จสิ้น แนวข้อสอบปลายภาค เคมี 1.... ตอนที่ 1 ตอนที่ 1 ข้อที่ 1-30 เป็นแบบปรนัยเลือกตอบ 5 ตัวเลือก (15 คะแนน) 1. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมของสารในข้อใดที่แตกต่างจากข้ออื่น 2. สารประกอบโคเวเลนต์ในข้อใดต่อไปนี้ที่อะตอมกลางมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 8 เป็นไปตามกฎออกเตต 3. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับสมบัติของสารประกอบไอออนิก 4. “พลังงานที่คายออกมาเมื่ออะตอมในสถานะแก๊สรับอิเล็กตรอน เกิดเป็นไอออนลบ” คือ ขั้นตอนใดของพลังงานการ เกิดสารประกอบไอออนิก 5. สารประกอบโคเวเลนต์ในข้อใดมีพันธะสามอยู่ในโมเลกุลด้วย 6. สารประกอบไอออนิกในข้อใดจัดเป็นสารที่ไม่ละลายน้ำ 7. สารประกอบไอออนิกในข้อใดที่นำมาใช้ประโยชน์ในการเป็นสารอิเล็กโทรไลต์ในถ่ายไฟฉาย 8. สารประกอบโคเวเลนต์ข้อใดต่อไปนี้ที่มีโครงสร้างแบบ “เรโซแนนซ์” 9. ข้อใดเรียงลำดับพลังงานพันธะของสารประกอบโคเวเลนต์จากน้อยไปมากได้ถูกต้อง 10. “คลอรีนเพนตะฟลูออไรด์” (CIF) มีรูปร่างโมลเลกุลเป็นแบบใด 11. รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ชนิดใดต่อไปนี้ที่ไม่มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว (lone pair electron) 12. สารประกอบโคเวเลนต์ในข้อใดต่อไปนี้ จัดเป็นพันธะมีขั้ว แต่เป็นโมเลกุลไม่มีขั้ว 13. แรงชนิดใดต่อไปนี้เป็นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลไม่มีขั้วหรืออะตอมของแก๊สมีสกุล (พันธะไม่มีขั้ว) 14. ข้อใดต่อไปนี้เป็นแรงยึดเหนี่ยวชนิดพันธะไฮโดรเจนทั้งหมด 15. สารประกอบโคเวเลนต์ชนิดใดต่อไปนี้ที่มีจุดหลอมเหลว จุดเดือดสูงที่สุด 16. สารในข้อใดต่อไปนี้ที่มีโครงสร้างไม่ใช่สารโคเวเลนต์แบบโครงร่างตาข่าย 17. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับสมบัติของโลหะ 18. สารประกอบข้อใดต่อไปนี้จัดเป็นสารไอออนิก 19. ข้อใดต่อไปนี้จับคู่สารประกอบไอออนิก โคเวเลนต์ และโลหะกับการนำไปใช้ประโยชน์ได้ถูกต้อง 20. “อะตอมของธาตุมีแนวโน้มที่จะรวมตัวกันเพื่อที่จะทำให้แต่ละอะตอมมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 8” คือกฎอะไร 21. จากวัฏจักรบอร์น-ฮาเบอร์ ในพลังงานกับการเกิดสารประกอบไอออนิก แก๊สดูดพลังงาน แล้วเสียอิเล็กตรอนเกิดเป็นไอออนบวก ขั้นตอนใดต่อไปนี้ที่อะตอมของโลหะในสถานะ 22. สารประกอบโคเวเลนต์ในข้อใดต่อไปนี้มีจำนวนอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวมากที่สุด 23. โมเลกุลของสารประกอบโคเวเลนต์ในข้อใดต่อไปนี้มีรูปร่างเป็นแบบทรงสี่หน้า (Tetrahedral) 24. “พันธะไอออนิก” เป็นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมของธาตุในกลุ่มใดต่อไปนี้ 25 ข้อใดต่อไปนี้เรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ไม่ถูกต้อง 26. ข้อใดต่อไปนี้เรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ได้ถูกต้อง 27. “พันธะไอออนิก” เกิดจากธาตุที่มีลักษณะอย่างไร 28. ข้อใดต่อไปนี้เรียกชื่อสารประกอบไอออนิกได้ถูกต้อง 29. ข้อใดต่อไปนี้นำมาใช้ประโยชน์ในการทำเครื่องบด เครื่องโม่ หินลับมีด 30. โลหะชนิดใดต่อไปนี้ที่นำไฟฟ้าได้ดีที่สุด

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย

อยากรู้คำตอบ

ชื่อ แบบฝึกหัดเพิ่มเติม 1.2 เรื่อง จำนวนเลขนัยสำคัญและการปัดเลข จงบอกจำนวนเลขนัยสำคัญในข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้อง ชั้น 1. 1.1 246.90 มีเลขนัยสำคัญ ตำแหน่ง 1.7 1.005 มีเลขนัยสำคัญ ตำแหน่ง 1.2 12333 มีเลขนัยสำคัญ · ตำแหน่ง 1.8 15.06 มีเลขนัยสำคัญ ตำาแหน่ง 1.3 3.750 มีเลขนัยสำคัญ ตำแหน่ง 1.9 5.00 มีเลขนัยสำคัญ ตำาแหน่ง 1.4 4.0 มีเลขนัยสำคัญ ตำแหน่ง 1.10 5.70 x 100 มีเลขนัยสำคัญ ตำแหน่ง 1.5 0.25 มีเลขนัยสำคัญ ตำแหน่ง 1.11 25.0 x 10 มีเลขนัยสำคัญ ตำแหน่ง 1.6 0.00013 มีเลขนัยสำคัญ ตำแหน่ง 1.12 0.0030 มีเลขนัยสำคัญ ตำแหน่ง 2. จงตอบคำถามต่อไปนี้ 2.1 5.2554 ต้องการเลขนัยสำคัญ 3 ตัว ปัดเป็น 2.2 0.045 ต้องการเลขนัยสำคัญ 1 ตัว ปัดเป็น 2.3 9.4432 ต้องการเลขนัยสำคัญ 2 ตัว ปัดเป็น 2.4 0.155 ต้องการเลขนัยสำคัญ 2 ตัว ปัดเป็น 2.5 7.7893 ต้องการเลขนัยสำคัญ 2 ตัว ปัดเป็น 2.6 1.256 ต้องการเลขนัยสำคัญ 2 ตัว ปัดเป็น 2.7 2.652 ต้องการเลขนัยสำคัญ 2 ตัว ปัดเป็น 2.8 0.999 ต้องการเลขนัยสำคัญ 2 ตัว ปัดเป็น 2.9 4.33 ต้องการเลขนัยสำคัญ 2 ตัว ปัดเป็น 2.10 8.85 ต้องการเลขนัยสำคัญ 2 ตัว ปัดเป็น 2.11 8.75 ต้องการเลขนัยสําคัญ 2 ตัว ปัดเป็น 2.12 1.652 ต้องการเลขนัยสำคัญ 2 ตัว ปัดเป็น

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย

เหลืออยู่แค่ 2 หน้านี้ ไม่เข้าใจว่าทำยังไง ช่วยหน่อยได้ไหมคะ ต้องส่งภายในวันนี้ TT

โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต เอกสารประกอบการเรียนวิชาเคมี 1 (231122) บทที่ 3 หน้า 34 1.3 SB 1.5 C3H4 1. จงเขียนสูตรแบบจุด และแบบเส้นแสดงพันธะโคเวเลนต์ของสารต่อไปนี้ ตามกฎออกเดต สูตรสารประกอบโคเวเลนต์ 1.1 Br2 1.2 CS2 1.4 C2H6 เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาเคมี 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 บทที่ 3 (231122) ใบงานที่ 10 เรื่อง การเขียนสูตรและอ่านชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยรังสิต สูตรแบบจุด โดยอนุโลมว่าการรวมตัวเป็นไป สูตรแบบเส้น 20 2 เขียนสูตรโมเลกุล สูตรแบบจุด และสูตรแบบเส้นของสารประกอบระหว่างธาตุต่อไปนี้ สูตรโมเลกุล สูตรแบบจุด ธาตุ 21 ไฮโดรเจน กับซีลีเนียม 22 ไอโอดีน กับอาร์เซนิก 2.3 ไนโตรเจน กับคลอรีน 24 ซิลิคอน กับไฮโดรเจน 2.5 ออกซิเจน กับคลอรีน 2.6 โบรอน กับฟลูออรีน 3. ธาตุใดต่อไปนี้ทำปฏิกิริยากันแล้วได้สารประกอบโคเวเลนต์ ก. โซเดียวกับออกซิเจน ข. ซิลิคอนกับออกซิเจน XX เหล็กกับคลอรีน ง. คลอรีนกับโบรมีน จ. คาร์บอนกับกำมะถัน หนา 35 สูตรแบบเส้น

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

เรื่องค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตี

H 2,1 แบบฝึกหัด คำสั่ง : จงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. พิจารณาคาอิเล็กโทรเนกาติวิตในตารางธาตุที่กำหนดให้ Li 1.0 สรุปปัจจัยที่มีผลต่อค่าอิเล็กโทรน 1) ขนาดอะตอม (กรณีที่ธาตุมีจำนวนระดับชั้นพลังงานต่างกัน) - อะตอมขนาดเล็ก - แรงดึงดูดระหว่าง nucleus กับ 6 มีค่ามาก e เมื่อสร้างพันธะกับอะตอมอื่น มีแนวโน้มดึงดูด 2 คู่ร่วมพันธะเข้าหานิวเคลียสตัวเองได้ดี จึงมีค่า EN สูง - อะตอมขนาดใหญ่ - แรงดึงดูดระหว่าง nucleus กับ 8 มีค่าน้อย เมื่อสร้างพันธะกับอะตอมอื่น มีแนวโน้มดึงดูด 8 คู่ร่วมพันธะเข้าหานิวเคลียสตัวเองได้แก่ จึงมีค่า EN ตัว 2) จำนวนประจุบวกในนิวเคลียส (กรณีที่ธาตุมีจำนวนระดับชั้นพลังงานเท่ากัน) Na Me 0.9 1.2 Rb 0.8 K Ca 0.8 4.0 Cs 0.7 Be 1.5 Fr 0.7 - อะตอมของธาตุที่มีจำนวนประจุบวกในนิวเคลียส (หรือจำนวนโปรตอน ที่มาก เมื่อสร้างพันธะกับอะตอมอื่น มีแนวโน้มดึงดูด 2 คู่ร่วมพันธะเข้าหานิวเคลียสตัวเองได้ดีกว่า ธาตุนั้นจึงมีค่า EN สูง Sc 1.3 St Y Zr 1.0 1.2 14 Ti 1.5 Ba La-Lu HT 091-12 13 Ra Ac-No 0.9 1.1-1.7 N V 1.6 Cr 1.6 Nb Mo 1.6 1.8 Ta W 1.5 1.7 Min Fe 15 1.8 Tc 1.9 Re 1.9 ******* Ru 2.2 Os 2.2 Co 1.8 Rh Pd 2.2 2.2 Ir Ni 1.8 A PL 2.2 2.2 Cu 19 Ag 1.9 Au 2.4 Zn 1.6 B C 2.0 Hg 1.9 A[ 1.5 Ga 1.6 Cd In 1.7 1.7 TI 1.8 N 2.5 3.0 Si 1.8 Ge 1.8 P 2.2 Pb 1.8 As 2.0 0 35 Bi 1.9 Sn Sb Te 1.8 1.9 2.1 Se 2.4 จงตอบคําถามต่อไปนี้ 1) จากข้อมูลด้านบน ธาตุใดมีค่าอิเล็กโทรเนกาตัวมากที่สุด และธาตุใดมีค่าอิเล็กโทรเนกาตัวน้อยที่สุด ตอบ............... F 4.0 S C Ar 25 3.0 Br 2.8 I 2.5 Po AL 2.0 2.2 2) นักเรียนคิดว่าเพราะเหตุใดธาตุหมู่ 8A ส่วนใหญ่จึงไม่มีค่าอิเล็กโทรเนกาทีวี ยกเว้นธาตุจริปทอน (K) และธาตุซีนอน (Xe) ตอบ........... He Ne Kr 3.0 Xe 2.6 Rn …...…..…………

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ ทำไม่ได้เลย🥲

***** ****** แบบฝึกหัด คําสั่ง : จงตอบคําถามต่อไปนี้ 1. จงทำเครื่องหมาย จ หน้าข้อความที่ถูกต้องและทำเครื่องหมาย X หน้าข้อความที่ผิด พร้อมทั้งแก้ข้อความที่ผิดให้ถูกต้อง www. m --------------- ************** ********** ******** 1) เดอเบอไรเนอร์เป็นผู้จัดตั้งกฎแห่งสามขึ้น โดยเป็นกฎที่ทำให้เกิดการจัดธาตุเป็นกลุ่ม ๆ ละ 3 ธาตุ ถ้าข้อผิด แก้ไขเน 2) นิวแลนด์เป็นผู้เสนอการจัดตารางธาตุที่ว่า ถ้านำธาตุมาเรียงตามมวลอะตอม จะพบว่าธาตุที่ 7 มีสมบัติคล้ายกับธาตุที่ 1 ถ้าข้อนี้ผิด แก้ไขเป็น 3) Law of octaves ใช้กับธาตุได้เพียง 30 ตัวแรกเท่านั้น ถาขอนผิด แก้ไขเป็น 4) กฎการจัดธาตุของนิวแลนดใช้ได้ถึงธาตุ Ca เท่านั้น ถ้าข้อผิด แก้ไขเป็น 5) กำหนดให้ธาตุชุดหนึ่งประกอบด้วย Ca Sr Ba หากธาตุกลุ่มนี้เป็นไปตามกฎแห่งสาม มวลอะตอมของ Sr จะเป็น 88.5 ถาขอนผิด แก้ไขเป็น 6) ไมเออร์และเมเตเลเอฟตั้งข้อสังเกตว่า ถ้าเรียงธาตุตามลำดับเลขอะตอมจากน้อยไปมาก จะพบว่าธาตุมีสมบัติคล้ายคลึงกันเป็นช่วง ๆ ถาขอนผิด แก้ไขเป็น 7) การออกของโมสลีย์คือกฎที่นำมาสู่การจัดสร้างตารางธาตุที่ใช้ในปัจจุบันนี้ ถ้าข้อผิด แก้ไขเป็น 8) ธาตุในปัจจุบันมีทั้งธาตุที่ค้นพบในธรรมชาติ ธาตุที่สังเคราะห์ขึ้นและธาตุที่ได้จากการแผ่รังสี ถ้าข้อนี้ผิด แก้ไขเป็น *********** 9) กฎรออกของโมสลีย์ถูกนำมาสร้างเป็นตารางธาตุในปัจจุบัน จึงยกย่องให้ไม่สลียบิดาแห่งตารางธาตุ ถ้าข้อนี้ผิด แก้ไขเป็น ********* ************ 10) ตารางธาตุในปัจจุบันเกิดจากการนำธาตุมาเรียงตามมวลอะตอม (Atomic mass) ถ้าข้อนี้ผิด แก้ไขเป็น *****

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย

วิชาเคมี เรื่องโมลและสูตร

ใบงาน โมลและสูตรเคมี 1. จงหามวลอะตอมของฟอสฟอรัส (P) เมื่อฟอสฟอรัส 1 อะตอม มีมวล 31 x 1.66 x 10 กรัม 2. สมมติธาตุ X ในธรรมชาติมี ไอโซโทปที่ 1 ไอโซโทปที่ 2 จงหามวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุ X ชื่อ-นามสกุล. ข้อ 5 2 ไอโซโทปคือ เปอร์เซ็นต์ในธรรมชาติ 10 90 มวล 9 3. จงหามวลโมเลกุลของสารต่อไปนี้ มวลอะตอม H=1, C=12, N=14, O=16, S=32, K=39) 3.1 C12H22011 3.2 CO₂... 3.3 H2SO4 3.4 KNO3.. 4. จงเขียนสูตรที่ใช้ในการคำนวณเกี่ยวกับโมล และระบุตัวแปรแต่ละตัวคือค่าอะไร 10 5.1 จงหาจํานวนโมลของเหล็ก (Fe) 12.04 x 10 18 อะตอม 5.2 จงคำนวณหาจำนวนอนุภาคของคริปทอน (Kr) 2 โมล 5.3 จงหาจํานวนโมลของมีเทน (CH4) 48 กรัม เลขที่.... ชน.

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ใครทำได้

แบบเลือกตอบ ( 16 คะแนน ) มสารละลาย NaCl เข้มข้น 0.01 mol/ dm 1 50 กรัม ได้มากที่สุดที่ dm , Cl=35.5) dm³ 0.5 dm³ ละลายชนิดหนึ่งเข้มข้น 1 moldm m เมื่อเติมน้ำ 300 cm มเข้มข้น mol/ dm 0.06 mol/dm³ 1. 0.4 mol/dm³ ก.0.0025 กรัม ค. 0.4 กรัม U. 85.5 dm³ 4. 100 dm³ จะได้สารละลาย องการเตรียมสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.1 al/dm จำนวน 100 cm จะต้องใช้ NaOH กรัม Na-23, 0-16.H=1) /mol/kg) . 0.1 mol/dm³ 4. 0.67 mol/dm³ n. -4.3°C M. -5.3°C 4.สารละลายชนิดหนึ่ง 100 cm เข้มข้น 2 moldm ถ้าต้องการทำให้มีความเข้มข้นเป็น 0.2 moldm จะต้องเติมน้ำให้มีปริมาตรเป็นเท่าใด n. 2,000 cm³ n. 1,000 cm³ ข. 0.04 กรัม ง. 4 กรัม 5.สารละลายที่มีน้ำมันระกำ 30 กรัม ละลายในเบนซิน 200 กรัม จะมีจุดเยือกแข็งเท่าไร ถ้าน้ำมันระกำมีมวลโมเลกุล 152 (เบนซินมีจุดเยือกแข็ง5.50°C, K เท่ากับ 4.90 t. 2,500 cm³ 4. 100 cm³ 9. 4.3°C 4.0.7 °C 6. จงหาจุดเดือดของสารละลายกลูโคส (Call C 0.2 m (กำหนด ค่า 4 ของน้ำเท่ากับ 0.5 cm. จุดเดือด : 100 °C n. 101.0 ℃ 1.00 °C 4.100.1 °C 7. เมื่อเติมกลูโคส (CH12O) จำนวนหนึ่งในน้ำ จุดเดี และจุดหลอมเหลวของสารละลายเมื่อเปรียบเทียบกั จะเป็นอย่างไร ก. เพิ่มขึ้นและเพิ่มขึ้น ข. ลดลงและลดลง ค. เพิ่มขึ้นและลดลง ง. ลดลงและเพิ่มขึ้น 8. สมการที่ดุลแล้ว จะมีค่า a, b, cd และ e เท่าใด aNO (g) + bCHd(g) cHCN (g) + dH₂O(g) + eH₂ n. 2,2,3,2,1 P. 1,2,2,2,1 9. สมการที่คุณแล้ว จะมีค่า 4,5,6 และ 4 เท่าใด + bo₂ →CCO₂ + H₂O 1.2.2.1 4. 2.4.4,6 aC₂H₂OH n. 2.2.3.2 n. 1,3,2,3 1.2.2.2.2.1 4.2,1,3,2,1 10. สมการที่คุณแล้ว จะมีค่า 35,ะ 4 เท่าใด aCu (s) + bNO₂ (g) -cCuO (s) + N₂ (g) n. 2,7.4.6 n. 2.2.2.4 35 (s) + 2760 @0 จากปฏิกิริยา (ใช้ตอบคำถามข้อ 11-12) 2H₂5 (g) + 5O₂ (g) กำหนดมวลอะตอม 552, H = ID. 16 11. จากสมการเคมี ปริมาณสัมพันธ์ข้อใดไม่ถูกต้อง n. H.SI lue SO, 64 nu MS 3x32 n 12 จะเกิด 5 กรัม เมื่อใช้ 30 32 กรัม 34

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/39