ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะพี่ๆ🙏🏻

สมบัติของแอลเคนและไซโคลแอลเคน 1. สภาพละลายได้ แอลเคนและไซโคลแอลเคน เป็นโมเลกุลไม่มีขั้วจึงไม่ละลายน้ำ แต่ละลายในทำละลายมีขั้ว 2. สถานะ 1 - 2, แก๊ส 2 - 1 ของเหลว C1 ขึ้นไป ของแข็ง 3. จุดเดือด แอลเคนโซ่ตรง เมื่อมวลโมเลกุลเพิ่มขึ้น จุดเดือดเพิ่มขึ้น หรือ คาร์บอน เพิ่มขึ้น จุดเดือดเพิ่มขึ้น แอลเคน โซ่กิ่ง จุดเดือดจะลดลง ส่วนไซโคลแอลเคน จุดเดือด สูงกว่า แอลเคนโซ่ตรง ตัวอย่าง tu C จุดเดือดสูงสุด คือ A B 4. กรณีโซ่ตรง จุดหลอมเหลวเพิ่มขึ้น เมื่อจำนวนคาร์บอนเพิ่มขึ้น โซ่กิ่ง ค่อนข้างจะทำนายยาก ยกเว้นรูปร่างสมมาตร ไซโคลแอลเคน จุดหลอมเหลว สูงกว่าโซ่ตรง 5. ความหนาแน่น แอลเคนและไซโคลแอลเคนจะมีความหนาแน่นน้อยที่สุดกว่าสารอินทรีย์ทุกชนิด

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ ทำไม่ได้เลย🥲

***** ****** แบบฝึกหัด คําสั่ง : จงตอบคําถามต่อไปนี้ 1. จงทำเครื่องหมาย จ หน้าข้อความที่ถูกต้องและทำเครื่องหมาย X หน้าข้อความที่ผิด พร้อมทั้งแก้ข้อความที่ผิดให้ถูกต้อง www. m --------------- ************** ********** ******** 1) เดอเบอไรเนอร์เป็นผู้จัดตั้งกฎแห่งสามขึ้น โดยเป็นกฎที่ทำให้เกิดการจัดธาตุเป็นกลุ่ม ๆ ละ 3 ธาตุ ถ้าข้อผิด แก้ไขเน 2) นิวแลนด์เป็นผู้เสนอการจัดตารางธาตุที่ว่า ถ้านำธาตุมาเรียงตามมวลอะตอม จะพบว่าธาตุที่ 7 มีสมบัติคล้ายกับธาตุที่ 1 ถ้าข้อนี้ผิด แก้ไขเป็น 3) Law of octaves ใช้กับธาตุได้เพียง 30 ตัวแรกเท่านั้น ถาขอนผิด แก้ไขเป็น 4) กฎการจัดธาตุของนิวแลนดใช้ได้ถึงธาตุ Ca เท่านั้น ถ้าข้อผิด แก้ไขเป็น 5) กำหนดให้ธาตุชุดหนึ่งประกอบด้วย Ca Sr Ba หากธาตุกลุ่มนี้เป็นไปตามกฎแห่งสาม มวลอะตอมของ Sr จะเป็น 88.5 ถาขอนผิด แก้ไขเป็น 6) ไมเออร์และเมเตเลเอฟตั้งข้อสังเกตว่า ถ้าเรียงธาตุตามลำดับเลขอะตอมจากน้อยไปมาก จะพบว่าธาตุมีสมบัติคล้ายคลึงกันเป็นช่วง ๆ ถาขอนผิด แก้ไขเป็น 7) การออกของโมสลีย์คือกฎที่นำมาสู่การจัดสร้างตารางธาตุที่ใช้ในปัจจุบันนี้ ถ้าข้อผิด แก้ไขเป็น 8) ธาตุในปัจจุบันมีทั้งธาตุที่ค้นพบในธรรมชาติ ธาตุที่สังเคราะห์ขึ้นและธาตุที่ได้จากการแผ่รังสี ถ้าข้อนี้ผิด แก้ไขเป็น *********** 9) กฎรออกของโมสลีย์ถูกนำมาสร้างเป็นตารางธาตุในปัจจุบัน จึงยกย่องให้ไม่สลียบิดาแห่งตารางธาตุ ถ้าข้อนี้ผิด แก้ไขเป็น ********* ************ 10) ตารางธาตุในปัจจุบันเกิดจากการนำธาตุมาเรียงตามมวลอะตอม (Atomic mass) ถ้าข้อนี้ผิด แก้ไขเป็น *****

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยงับ5ข้อ

คำชี้แจง ให้นักเรียนลอกโจทย์และแสดงวิธีคิดทุกข้อ 1. จงเขียนผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากปฎิกิริยาที่กําหนดให้ CH₂CH=CHCH₂CH3 + KMnO4 + H₂O 2. สาร B มีสูตรโมเลกุล C,H, เมื่อนำไปทำปฏิกิริยากับ Br/CCI, เมื่อมี AIBr; เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา จงเขียนปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้น 3. สารประกอบไฮโดรคาร์บอน 2 ชนิด คือ สาร A และ B มีสูตรโมเลกุลเหมือนกันเป็น C,H, สาร A สามารถฟอกจางสี สารละลายด่างทับทิม แต่สาร B ไม่ฟอกจางสีสารละลายด่างทับทิม จากสมบัติดังกล่าวจงหาสูตรโครงสร้างของสาร A และ B 4. จากการเผาไหม้สาร 3 ชนิด คือ C,H, C,H, C,H,, และ CH สารประกอบใดเกิดเขม่ามากที่สุด 10 12 5. ในกลุ่มของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีสูตรทั่วไปร่วมกัน ถ้าเพิ่มจำนวนอะตอมของคาร์บอนขึ้นเรื่อย ๆ สารประกอบ ไฮโดรคาร์บอนจะมีสถานะตามลำดับอย่างไร 6. การทดลองต่อไปนี้ให้ผลเมื่อทดลองกับไฮโดรคาร์บอน 1. จุดติดไฟ 2. ทำปฏิกิริยากับสารละลายโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต (KMnO,) 3. ฟอกสีโบรมีนในคาร์บอนเตตระคลอไรด์ โดยไม่เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัส จากการทดลองที่กำหนดให้นักเรียนคิดว่าสารประกอบไฮโดรคาร์บอนควรมีสูตรทั่วไปว่าอย่างไร 7. เมื่อเขียนสมการแสดงการเผาไหม้ของเพนเทนในออกซิเจน จงหาผลบวกของตัวเลขสัมประสิทธิ์ของสมการที่ดุลแล้ว 8. จากสูตรโมเลกุล C,H, O เป็นสารประกอบอะไรได้บ้าง 9. จงหาสูตรโมเลกุลของ X Y และ Z เมื่อเกิดปฏิกิริยาดังสมการ X + Br₂ C₂H,Br + HBr C5H₁0Br2 6CO₂ + 6H₂O Y + Br₂ Z +90₂ 10. จงอ่านชื่อของสารประกอบที่กำหนดให้ด้วยระบบ IUPAC H H-C-H HHH H T T H H-C C-C C T 1 H H H H-C-HH-C-H C H C-H H H

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยบอกคำตอบทีค่ะช่วยทีงับไม่รู้จริงๆ🥺

แบบฝึกหัด 4.1 1. H2O 1 โมลโมเลกุล = เป็นของ H = เป็นของ O = 3. C6H12O6 2 โมลโมเลกุล เป็นของ C = เป็นของ H = เป็นของ O = ที 1 2 4 5 6 7 19 8 3 5. จงคำนวณหาจำนวนโมลและจำนวนอนุภาคของสารต่อไปนี้ ปริมาณสาร 24 L 1 โมลอะตอม โมลอะตอม โมลอะตอม โมลอะตอม โมลอะตอม โมลอะตอม โมลอะตอม He 1.02 × 102 อะตอม แก๊สแอมโมเนีย (NH) 3.01 x 10 โมเลกุล กํามะถัน (S) 1 อะตอม 2. H2O 2 โมลโมเลกุล เป็นของ H = เป็นของ Q = โพแทสเซียมไอออน (K) 100 ไอออน 4. SO, 1 โมลโมเลกุล = เป็นของ S = เป็นของ O = จํานวนโมล 0.0016\be A L 4 1 AL อาร์กอน 3.00 โมล น้ำ 5.00 โมล ในเทรตไอออน 1.0 × 10 โมล โซเดียมไอออน 0.001 โมล โมลอะตอ โมลอะตอ โมลอะตร โมลอะตอ โมลอะตอ โมลอะตอ m m

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

😢🤲🏻

3 แบบฝึกหัดที่ 3.11 เรื่องแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลและสมบัติของสารโคเวเลนต์ 1. จงเรียงลำดับแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล Bra, S8, O2 และแกรไฟต์ ดินสอ (S) 2. จงเรียงลำดับความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอของ C10H22, NHz, H2O, และ O2 จากมากไปน้อย 3. จงเรียงลำดับจุดหลอดมเหลวของสารต่อไปนี้ SiO2, HF, C1022 CH OH จากมากไปน้อย 4. CC, มีสถานะเป็นของเหลวเมื่อนำไปละลายจะละลายในตัวทำละลายใดได้ที่สุด H₂O CH3OH CH3COCH3 C6H₁4 5. จงเรียงลำดับจุดเดือดของสารต่อไปนี้ HF HI HB HCL 6. จงระบุแรงยึดเหนี่ยวระหว่าโมเลกุลโคเวเลนต์ สูตร CO₂ C₂H SiO₂ SO3 NH3 Og CH3 COOH HF H₂O C3H8 CH3OH เพชร แกรไฟต์ ชนิดแรงยึดเหนี่ยวระหว่าโมเลกุลโคเวเลนต์ แรงลอนดอน แรงดึงดูดระหว่างขั้ว โครงรางตาข่าย พันธะไฮโดรเจน ✓ ✓ ✓ ✓

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/80