ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

เคมี มัธยมปลาย

เรื่องค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตี

H 2,1 แบบฝึกหัด คำสั่ง : จงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. พิจารณาคาอิเล็กโทรเนกาติวิตในตารางธาตุที่กำหนดให้ Li 1.0 สรุปปัจจัยที่มีผลต่อค่าอิเล็กโทรน 1) ขนาดอะตอม (กรณีที่ธาตุมีจำนวนระดับชั้นพลังงานต่างกัน) - อะตอมขนาดเล็ก - แรงดึงดูดระหว่าง nucleus กับ 6 มีค่ามาก e เมื่อสร้างพันธะกับอะตอมอื่น มีแนวโน้มดึงดูด 2 คู่ร่วมพันธะเข้าหานิวเคลียสตัวเองได้ดี จึงมีค่า EN สูง - อะตอมขนาดใหญ่ - แรงดึงดูดระหว่าง nucleus กับ 8 มีค่าน้อย เมื่อสร้างพันธะกับอะตอมอื่น มีแนวโน้มดึงดูด 8 คู่ร่วมพันธะเข้าหานิวเคลียสตัวเองได้แก่ จึงมีค่า EN ตัว 2) จำนวนประจุบวกในนิวเคลียส (กรณีที่ธาตุมีจำนวนระดับชั้นพลังงานเท่ากัน) Na Me 0.9 1.2 Rb 0.8 K Ca 0.8 4.0 Cs 0.7 Be 1.5 Fr 0.7 - อะตอมของธาตุที่มีจำนวนประจุบวกในนิวเคลียส (หรือจำนวนโปรตอน ที่มาก เมื่อสร้างพันธะกับอะตอมอื่น มีแนวโน้มดึงดูด 2 คู่ร่วมพันธะเข้าหานิวเคลียสตัวเองได้ดีกว่า ธาตุนั้นจึงมีค่า EN สูง Sc 1.3 St Y Zr 1.0 1.2 14 Ti 1.5 Ba La-Lu HT 091-12 13 Ra Ac-No 0.9 1.1-1.7 N V 1.6 Cr 1.6 Nb Mo 1.6 1.8 Ta W 1.5 1.7 Min Fe 15 1.8 Tc 1.9 Re 1.9 ******* Ru 2.2 Os 2.2 Co 1.8 Rh Pd 2.2 2.2 Ir Ni 1.8 A PL 2.2 2.2 Cu 19 Ag 1.9 Au 2.4 Zn 1.6 B C 2.0 Hg 1.9 A[ 1.5 Ga 1.6 Cd In 1.7 1.7 TI 1.8 N 2.5 3.0 Si 1.8 Ge 1.8 P 2.2 Pb 1.8 As 2.0 0 35 Bi 1.9 Sn Sb Te 1.8 1.9 2.1 Se 2.4 จงตอบคําถามต่อไปนี้ 1) จากข้อมูลด้านบน ธาตุใดมีค่าอิเล็กโทรเนกาตัวมากที่สุด และธาตุใดมีค่าอิเล็กโทรเนกาตัวน้อยที่สุด ตอบ............... F 4.0 S C Ar 25 3.0 Br 2.8 I 2.5 Po AL 2.0 2.2 2) นักเรียนคิดว่าเพราะเหตุใดธาตุหมู่ 8A ส่วนใหญ่จึงไม่มีค่าอิเล็กโทรเนกาทีวี ยกเว้นธาตุจริปทอน (K) และธาตุซีนอน (Xe) ตอบ........... He Ne Kr 3.0 Xe 2.6 Rn …...…..…………

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ ทำไม่ได้เลย🥲

***** ****** แบบฝึกหัด คําสั่ง : จงตอบคําถามต่อไปนี้ 1. จงทำเครื่องหมาย จ หน้าข้อความที่ถูกต้องและทำเครื่องหมาย X หน้าข้อความที่ผิด พร้อมทั้งแก้ข้อความที่ผิดให้ถูกต้อง www. m --------------- ************** ********** ******** 1) เดอเบอไรเนอร์เป็นผู้จัดตั้งกฎแห่งสามขึ้น โดยเป็นกฎที่ทำให้เกิดการจัดธาตุเป็นกลุ่ม ๆ ละ 3 ธาตุ ถ้าข้อผิด แก้ไขเน 2) นิวแลนด์เป็นผู้เสนอการจัดตารางธาตุที่ว่า ถ้านำธาตุมาเรียงตามมวลอะตอม จะพบว่าธาตุที่ 7 มีสมบัติคล้ายกับธาตุที่ 1 ถ้าข้อนี้ผิด แก้ไขเป็น 3) Law of octaves ใช้กับธาตุได้เพียง 30 ตัวแรกเท่านั้น ถาขอนผิด แก้ไขเป็น 4) กฎการจัดธาตุของนิวแลนดใช้ได้ถึงธาตุ Ca เท่านั้น ถ้าข้อผิด แก้ไขเป็น 5) กำหนดให้ธาตุชุดหนึ่งประกอบด้วย Ca Sr Ba หากธาตุกลุ่มนี้เป็นไปตามกฎแห่งสาม มวลอะตอมของ Sr จะเป็น 88.5 ถาขอนผิด แก้ไขเป็น 6) ไมเออร์และเมเตเลเอฟตั้งข้อสังเกตว่า ถ้าเรียงธาตุตามลำดับเลขอะตอมจากน้อยไปมาก จะพบว่าธาตุมีสมบัติคล้ายคลึงกันเป็นช่วง ๆ ถาขอนผิด แก้ไขเป็น 7) การออกของโมสลีย์คือกฎที่นำมาสู่การจัดสร้างตารางธาตุที่ใช้ในปัจจุบันนี้ ถ้าข้อผิด แก้ไขเป็น 8) ธาตุในปัจจุบันมีทั้งธาตุที่ค้นพบในธรรมชาติ ธาตุที่สังเคราะห์ขึ้นและธาตุที่ได้จากการแผ่รังสี ถ้าข้อนี้ผิด แก้ไขเป็น *********** 9) กฎรออกของโมสลีย์ถูกนำมาสร้างเป็นตารางธาตุในปัจจุบัน จึงยกย่องให้ไม่สลียบิดาแห่งตารางธาตุ ถ้าข้อนี้ผิด แก้ไขเป็น ********* ************ 10) ตารางธาตุในปัจจุบันเกิดจากการนำธาตุมาเรียงตามมวลอะตอม (Atomic mass) ถ้าข้อนี้ผิด แก้ไขเป็น *****

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยงับ5ข้อ

คำชี้แจง ให้นักเรียนลอกโจทย์และแสดงวิธีคิดทุกข้อ 1. จงเขียนผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากปฎิกิริยาที่กําหนดให้ CH₂CH=CHCH₂CH3 + KMnO4 + H₂O 2. สาร B มีสูตรโมเลกุล C,H, เมื่อนำไปทำปฏิกิริยากับ Br/CCI, เมื่อมี AIBr; เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา จงเขียนปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้น 3. สารประกอบไฮโดรคาร์บอน 2 ชนิด คือ สาร A และ B มีสูตรโมเลกุลเหมือนกันเป็น C,H, สาร A สามารถฟอกจางสี สารละลายด่างทับทิม แต่สาร B ไม่ฟอกจางสีสารละลายด่างทับทิม จากสมบัติดังกล่าวจงหาสูตรโครงสร้างของสาร A และ B 4. จากการเผาไหม้สาร 3 ชนิด คือ C,H, C,H, C,H,, และ CH สารประกอบใดเกิดเขม่ามากที่สุด 10 12 5. ในกลุ่มของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีสูตรทั่วไปร่วมกัน ถ้าเพิ่มจำนวนอะตอมของคาร์บอนขึ้นเรื่อย ๆ สารประกอบ ไฮโดรคาร์บอนจะมีสถานะตามลำดับอย่างไร 6. การทดลองต่อไปนี้ให้ผลเมื่อทดลองกับไฮโดรคาร์บอน 1. จุดติดไฟ 2. ทำปฏิกิริยากับสารละลายโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต (KMnO,) 3. ฟอกสีโบรมีนในคาร์บอนเตตระคลอไรด์ โดยไม่เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัส จากการทดลองที่กำหนดให้นักเรียนคิดว่าสารประกอบไฮโดรคาร์บอนควรมีสูตรทั่วไปว่าอย่างไร 7. เมื่อเขียนสมการแสดงการเผาไหม้ของเพนเทนในออกซิเจน จงหาผลบวกของตัวเลขสัมประสิทธิ์ของสมการที่ดุลแล้ว 8. จากสูตรโมเลกุล C,H, O เป็นสารประกอบอะไรได้บ้าง 9. จงหาสูตรโมเลกุลของ X Y และ Z เมื่อเกิดปฏิกิริยาดังสมการ X + Br₂ C₂H,Br + HBr C5H₁0Br2 6CO₂ + 6H₂O Y + Br₂ Z +90₂ 10. จงอ่านชื่อของสารประกอบที่กำหนดให้ด้วยระบบ IUPAC H H-C-H HHH H T T H H-C C-C C T 1 H H H H-C-HH-C-H C H C-H H H

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยครับ

A. B. C. D. E. F. G. H. I. J. มุมความรู้ คำสั่ง : จงตอบคำถามในข้อต่อไปนี้ 7. จงพิจารณาว่าเมื่อเปลี่ยนแปลงความดันของระบบ ระบบของปร ของปฏิกิริยาต่อไปนี้จะปรับตัวเข้าสู่สมดุลใหม่อย่างไร โดยแสดงเครื่องหมาย () เมื่อระบบเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า และเครื่องหมาย (4) เมื่อระบบเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ ● V การรบกวนสมดุลโดยการเปลี่ยนความดัน หลักการพิจารณาว่าระบบจะปรับตัวเข้าสู่สมดุลใหม่อย่างไร ให้พิจารณาจำนวนโมล (เลขสัมประสิทธิ์ ของแก๊สในสารตั้งต้น กับจำนวนโมลของแก๊สในผลิตภัณฑ์เท่านั้น ดังนี้ - ถ้าเพิ่มความดันให้กับระบบ : ระบบจะปรับตัวเข้าสู่สมดุลใหม่ โดยจะเลื่อนไปทางที่มีจำนวนโมลน้อยกว่า - ถ้าลดความดันให้กับระบบ : ระบบจะปรับตัวเข้าสู่สมดุลใหม่ โดยจะเลื่อนไปทางที่มีจำนวนโมลมากกว่า - ถ้าระบบที่มีจำนวนโมลของแก๊สเท่ากันทั้งในสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ การเพิ่มหรือลดความดันจะไม่มีผลต่อระบบ N₂(g) + 3H₂(g) 2NH3(g) N₂O4(g) 2NO₂(g) 2HBr(g) + Cl₂(g) 2CO2(g) = 2CO(g) + O2(g) 2SO₂(g) + O₂(s) = 2SO3(g) PC15(g) PC (g) CH₂(g) + 2H₂S(g) = 3Fe(s) + 4H₂O(g) = C(s) + 2H₂O(g) = 4NH(g) + 50₂(g) ● ตอบ ปฏิกิริยา ตอบ 2NO₂(g) N₂O4(g) 2HCI(g) + Br₂(g) + Cl₂(g) CS₂(g) + 4H₂(g) Fe3O4(s) + 4H₂(g) เมื่อเพิ่มความดันของระบบ ปฏิกิริยาใดบ้างที่มีผลิตภัณฑ์เกิดมากขึ้น ตอบ • เมื่อลดความดันของระบบ ปฏิกิริยาใดบ้างที่มีผลิตภัณฑ์เกิดมากขึ้น CO₂(g) + 2H₂(g) 4NO(g) + 6H₂O(g) จํานวนโมลของแกส การรบกวนสมดุลของระบบ ยู น สารตงตน ผลิตภัณฑ เพิ่มความดัน ลดความดัน 4 2 เมื่อเพิ่มหรือลดความดันในปฏิกิริยาใดบ้าง ที่ไม่มีผลต่อการรบกวนสมดุลของปฏิกิริยา

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/44