ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะพี่ๆ🙏🏻

สมบัติของแอลเคนและไซโคลแอลเคน 1. สภาพละลายได้ แอลเคนและไซโคลแอลเคน เป็นโมเลกุลไม่มีขั้วจึงไม่ละลายน้ำ แต่ละลายในทำละลายมีขั้ว 2. สถานะ 1 - 2, แก๊ส 2 - 1 ของเหลว C1 ขึ้นไป ของแข็ง 3. จุดเดือด แอลเคนโซ่ตรง เมื่อมวลโมเลกุลเพิ่มขึ้น จุดเดือดเพิ่มขึ้น หรือ คาร์บอน เพิ่มขึ้น จุดเดือดเพิ่มขึ้น แอลเคน โซ่กิ่ง จุดเดือดจะลดลง ส่วนไซโคลแอลเคน จุดเดือด สูงกว่า แอลเคนโซ่ตรง ตัวอย่าง tu C จุดเดือดสูงสุด คือ A B 4. กรณีโซ่ตรง จุดหลอมเหลวเพิ่มขึ้น เมื่อจำนวนคาร์บอนเพิ่มขึ้น โซ่กิ่ง ค่อนข้างจะทำนายยาก ยกเว้นรูปร่างสมมาตร ไซโคลแอลเคน จุดหลอมเหลว สูงกว่าโซ่ตรง 5. ความหนาแน่น แอลเคนและไซโคลแอลเคนจะมีความหนาแน่นน้อยที่สุดกว่าสารอินทรีย์ทุกชนิด

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

😢🤲🏻

3 แบบฝึกหัดที่ 3.11 เรื่องแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลและสมบัติของสารโคเวเลนต์ 1. จงเรียงลำดับแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล Bra, S8, O2 และแกรไฟต์ ดินสอ (S) 2. จงเรียงลำดับความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอของ C10H22, NHz, H2O, และ O2 จากมากไปน้อย 3. จงเรียงลำดับจุดหลอดมเหลวของสารต่อไปนี้ SiO2, HF, C1022 CH OH จากมากไปน้อย 4. CC, มีสถานะเป็นของเหลวเมื่อนำไปละลายจะละลายในตัวทำละลายใดได้ที่สุด H₂O CH3OH CH3COCH3 C6H₁4 5. จงเรียงลำดับจุดเดือดของสารต่อไปนี้ HF HI HB HCL 6. จงระบุแรงยึดเหนี่ยวระหว่าโมเลกุลโคเวเลนต์ สูตร CO₂ C₂H SiO₂ SO3 NH3 Og CH3 COOH HF H₂O C3H8 CH3OH เพชร แกรไฟต์ ชนิดแรงยึดเหนี่ยวระหว่าโมเลกุลโคเวเลนต์ แรงลอนดอน แรงดึงดูดระหว่างขั้ว โครงรางตาข่าย พันธะไฮโดรเจน ✓ ✓ ✓ ✓

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะะเคมีม.6

40 แบบฝึกหัด 12.5 1. A B และ C เป็นสารประกอบแอโรแมติกไฮโดรคาร์บอน และมีโครงสร้างดังนี้ สาร โครงสร้าง A B C จงเรียงลำดับจุดเดือดของสารจากมากไปน้อย พร้อมอธิบายเหตุผล 2. ในการทดลองเติมผงแนฟทาลีนหรือลูกเหม็น (CyoH,) ปริมาณ 0.1 กรัม ลงในหลอดทดลอง ที่มีสารผสมระหว่างน้ำกลั่นและเฮกเซนอย่างละ 5 มิลลิลิตร จากนั้นเขย่าแรง ๆ และตั้งไว้ 3 นาที จงวาดรูปแสดงผลการทดลอง พร้อมอธิบายเหตุผล (กำหนดให้ ความหนาแน่น ของเฮกเซน = 0.66 กรัมต่อมิลลิลิตร) โครงสร้างของแนฟทาลีนหรือลูกเหม็น "รากของการศึกษามันขม แต่ผลของมันนั้นหวาน" ครูตะวัน ครูเคมี ครูใจดีที่สุดในโลก

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ใครพอจะทำได้มั้ยคะ 🥺

ชื่อ - สกุล เลขที่ 1.6 เมื่อธาตุสมมติ Y เกิดเป็นไอออน จะมีประจุเป็นเท่าไรจึงเสถียร จงเขียนแสดงคำตอบในรูปของ สัญลักษณ์นิวเคลียร์ พร้อมระบุจำนวนอนุภาคมูลฐานของไอออน และเขียนแสดงการจัดเรียง อิเล็กตรอนแบบแผนภาพออร์บิทัลที่ใช้ก๊าซเฉื่อยเป็นแกนของไอออนที่เกิดขึ้น ตอบ (2 คะแนน) 1.7 เมื่อธาตุสมมติ X เกิดเป็นสารประกอบตามกฎ Octet กับธาตุ Chlorine(Cl) ให้นักเรียนเขียนสูตร เคมี อ่านชื่อ เขียนสูตรแบบจุด สูตรแบบเส้น รูปร่างโมเลกุลพร้อมระบุรูปทั่วไปของ VSEPR ระบุ สภาพขั้วของพันธะและสภาพขั้วของโมเลกุล พร้อมระบุแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล รวมถึง ประโยชน์และโทษของสารประกอบดังกล่าว (10 คะแนน) ตอบ 1.8 เมื่อธาตุสมมติ Y เกิดเป็นสารประกอบตามกฎ Octet กับธาตุ Fluorine(F) ให้นักเรียนเขียนสูตร เคมี อ่านชื่อ เขียนสูตรแบบจุด เขียน Born Haber Cycle เขียนสมการการละลายน้ำ รวมถึง ประโยชน์และโทษของสารประกอบดังกล่าว เมื่อนำสารประกอบดังกล่าวไปทำปฏิกิริยากับ AgNo,(aq) ให้นักเรียนเขียนสมการไอออนิกสุทธิแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น (15 คะแนน) ตอบ

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 4
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยนะคั้บแค่ข้อ1-3ก็ได้ครับ ขอบคุณล่วงหน้าด้วยนะครับ

5 Page View A* Read aloud 7 Draพ * Highlighน คำถามเคมีพื้นฐานส่วนที่ 8 1. จงเขียนปฏิกิริยาการแตกตัวของกรดอ่อนและเบสอ่อนในน้ำต่อไปนี้ HNO, , HCOOH , CH,NH, , CHgN 2. จงเรียงลำดับความแรงของกรดต่อไปนี้จากน้อยไปหามาก 3 CHyCOOH , HCN , HCOOH , HNO) 3. จงเรียงลำดับความแรงของเบสต่อไปนี้จากน้อยไปหามาก NHง , CHNH) CH,N , CH,NH2 4. จงเขียนปฏิกิริยาการสะเทินต่อไปนี้ 4.1 HNO, กับ KOH 4.2 HCN กับ NaOH 4.3 NH4OH กับ HNO3 4.4 NH,OH กับ HCN 5. จงอธิบายการไทเทรตกรดเบสแบบใช้อินดิเคเตอร์และแบบใช้ขั้วไฟฟ้า 6. ตัวอย่างกรดซัลฟุริก(H,SO,) ปริมาตร 50 mL ถูกไทเทรตด้วย NลOH เข้มข้น 0.10 M ปริมาต

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ

20 4. จงระบุว่า สารใดบ้างที่มีสมบัติเป็นเบส HO-CHy CHy-CHz NH2 HO- CHy-CHy NH-CH3 สาร S สาร T สาร U 5. สารใดต่อไปนี้มีสมบัติกรด-เบสเช่นเดียวกับกรดแอมิโน CHง NH CH) -NH2 .CH) 'CH HyCา 1. เCH2 -N. CH2 O= "CH, เCH2 HC เCH) HC. "CH2 "CH2 HO HOOCา สาร X สาร Y สาร Z 6. โดยปกติการล้างคราบไขมันออกจากพื้นผิวของภาชนะแก้วทำได้ง่ายกว่าภาชนะพลาสติกนักเรียนคิดว่า พลาสติกและแก้วเป็นสารมีขั้วหรือไม่มีขั้ว เพราะเหตุใด 7. เมื่อนำกล่องโฟมบรรจุอาหารมาใส่อาหารผัดหรือทอด พบว่ามีรูรั่วเกิดขึ้น นักเรียนคิดว่ากล่องโฟมผลิต ขึ้นมาจากสารมีขั้วหรือไม่มีขั้ว และจะอธิบายเหตุการณ์ดังกล่าวโดยใช้หลักการ like dissolves like ได้อย่างไร 8. พอสิไวนิลคลอไรด์สามารถนำมาริไซเคิลได้ พอลิไวนิลคลอไรด์มีโครงสร้างแบบใดได้บ้าง พร้อมวาด ภาพประกอบ. 9. โครงสร้างของพอลิเมอร์ A และ B เป็นดังนี้ พอลิเมอร์ทั้งสองชนิดสามารถนำมาผลิตเป็นเส้นใย สำหรับผลิตผ้าได้ ผ้าที่ทำจากพอลิเมอร์ใดดูดซับน้ำได้ดีกว่า เพราะเหตุใด HO-CH2 HO-CH2 HO-C-Q HO-C-CH2 CH-0-CH CH-0 -HC () HC=CH 0 HC-CH || HC-CH -0-CHy-CHy-0-C- -4 3 OH OH OH OH HC-CH พอลิเมอร์ A พอลิเมอร์ B

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/7