ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่า เป็นเรื่องพันธุกรรม (วิชาชีวะ)🥹

แบบฝึกหัดพันธุกรรม 1. ในการผสมพันธุ์ข้าวโพดเมล็ดสีเหลืองกับข้าวโพดเมล็ดสีขาว ปรากฏว่าได้รุ่นลูกที่มีเมล็ดสีเหลืองทั้งหมด ต่อมานำต้นข้าวโพดรุ่นลูกนี้ผสมกันเอง พบว่าในรุ่นต่อมา บางส่วนเป็นข้าวโพดเมล็ดสีเหลือง บางส่วนเป็น ข้าวโพดเมล็ดสีขาว แสดงว่าลักษณะใดเป็นลักษณะเด่นของข้าวโพดพันธุ์นี้ - 2. การผสมพันธุ์ถั่วต้นสูงที่เป็นเฮตเตอโรไซกัส กับถั่วต้นเตี้ย (กำหนด T = สูง t = เตี้ย) ลูกที่เกิดมาจะมีจีโนไทป์ (Genotype) กี่แบบ อย่างไรบ้าง 3. ถ้านำต้นถั่วฝักสีเขียวที่เป็นพันธุ์แท้ ผสมกับต้นถั่วฝักสีเหลือง (กำหนดให้ G = ผักสีเขียว g = ฝักสีเหลือง) จะได้ลูกที่มีฟีโนไทป์ (Phenotype) แบบ อย่างไรบ้าง 4. สิ่งมีชีวิตที่มีจีโนไทป์ AaBBCC จะสร้างเซลล์สืบพันธุ์ที่มีรูปแบบจีโนไทป์แตกต่างกันได้กี่แบบ อย่างไรบ้าง 5. ลักษณะดอกสีม่วง (A) และเมล็ดกลม (R) เป็นลักษณะเด่น ลักษณะดอกสีขาว (a) เมล็ดขรุขระ (1) เป็น ลักษณะด้อย เมื่อผสม AaRR X AaRr แล้วได้ลูกทั้งหมด 320 ต้น จะมีลูกพันธุ์ทางจำนวนเท่าไร 6. เด็กบางคนเกิดมาพร้อมกับลักษณะบางอย่างที่ถูกควบคุมโดยยีนด้อย เช่น ผมตรง สายตาสั้น เป็นต้น ทั้งที่ พ่อและแม่ไม่ปรากฏลักษณะเช่นนั้น จงอธิบายว่าเป็นเพราะเหตุใด 7. เด่นชัยเป็นคนที่มีลักยิ้ม ซึ่งเป็นลักษณะเด่น แต่พ่อของเด่นชัยไม่มีลักยิ้ม โอกาสที่ลูกสาวของเด่นชัยจะมีลักยิ้ม คิดเป็นร้อยละเท่าไร และภรรยาของเด่นชัยก็ไม่มีลักยิ้ม 8. แม่มีเลือดหมู่ 9 พ่อมีเลือดหมู่ AB ลูกของพ่อแม่คู่นี้จะมีหมู่เลือดใดได้บ้าง 9. ผู้หญิงคนหนึ่งแต่งงานสองครั้ง สามีคนแรกของเธอมีเลือดหมู่ A และลูกจากการแต่งงานครั้งแรกมีเลือดหมู่ - ส่วนสามีคนที่สองมีเลือดหมู่ B และลูกจากการแต่งงานครั้งที่สองมีเลือดหมู่ AB หมู่เลือดของผู้หญิงคน นี้คือหมูโด 10. โรคตาบอดสี (Color Blindness) เป็นความผิดปกติทางพันธุกรรมที่ถูกควบคุมโดยยีนด้อยบนโครโมโซม X ในครอบครัวหนึ่ง พ่อตาบอดสี แม่ตาปกติ ลูกชายคนแรกตาบอดสี ถ้าลูกคนต่อไปเป็นผู้หญิง โอกาสที่ลูกสาว จะตาบอดสีคิดเป็นร้อยละเท่าไร

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

สรุปพันธุสาสตร์ ให้น้อนๆ

ศึกษาการถ่ายทอดลักษณะสู่รุ่นลูก โดยประกอบด้วยหลายลักษณะ ได้แก่ ศาสตร์ นักบวชชาวออสเตรีย ได้ทดลองผสมพันธุ์ ถั่วลันเตา (Pisum sativum) เพื่อ เกรเกอร์ โยฮัน เมนเดล (Gregor Johann Mendel) บิดาแห่งวิชาพันธุ คือ วิชาที่ศึกษาการถ่ายทอดลักษณะของสิ่งมีชีวิตจากรุ่นสู่รุ่น หรือที่ บทที่ 1 พันธุศาสตร์ พันธุศาสตร์ (Genetics) 1 เรียกว่า ลักษณะทางพันธุกรรม การเริ่มต้นศึกษาวิชาพันธุศาสตร์ A 1. ความสูงของลำต้น 4 2 รูปร่างของฝัก F 4. สีของเมล็ด ศึกษาการถ่ายทอดลักษณะสู่รุ่นลูก โดยประกอบด้วยหลายลักษณะ ได้หล่า พ 3. รูปร่างของเมล็ด A 6. สีของดอก พ5. ตำแหน่งของดอก F 7. สีของฝัก เลือกพันธุ์พ่อแม่ ผสมภายในดอกเดียวกัน รุ่นของสิ่งมีชีวิตที่ศึกษา (Self-pollination) รุ่นพ่อแม่ ..Parental.seneration : P) การผสมข้าม (Cross-pollination) รุ่นลูก ( First Filial generation : F, ) การผสมภายในดอกเดียวกัน (Self-pol(ination) รุ่นหลาน (Second Filial generation : F3 เอกสารฉบับนี้จัดทำเนื่อผลประโยชน์ทางการศึกษา ห้ามมิให้บุคคลใดดัดลอก ทำซ้ำ เสียนแบบ แก้ไขด้ดแปลง หรือ กระทวง เป็นการแส้วงหาผลประโยชน์ทางการด้า โดยไม่ได้รับการอนุญาตเป็นลาบลักษณ์อักษร จากทางบริษัท เสริมปัญญา จำกัด ู้โด้ละเดล ถูกดำเนินคดีตามกฎหมาย

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยทีค่ะ

คำศัพท์ทางพันธุศาสตร์ 1. Meiosis หมายถึง เป็นการแบ่งนิวเคลียสเพื่อสร้างเซลล์สืบพันธุ์ เมื่อสิ้นสุด การแบ่งเซลล์ จะได้เซลล์ใหม่ 4 เซลล์ 2. Gamete หมายถึง เซลล์สืบพันธุ์ทำหน้าที่สืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตที่สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ 3. Allele หมายถึง รูปแบบของยีนที่แสดงออกในแบบลักษณะต่าง ๆ ในลักษณะทางพันธุกรรมหนึ่ง ๆ 4. Dominant gene หมายถึง ยีนที่มีรูปแบบเป็นแอลลีลเด่น 5. Recessive gene หมายถึง ยีนที่มีรูปแบบเป็นแอลลีลด้อย 6. Locus หมายถึง ตำแหน่งของยีนที่อยู่บนโครโมโซม 7. Genotype หมายถึง ยีนที่อยู่ด้วยกันเป็นคู่จะนิยมเขียนสัญลักษณ์แทนด้วยตัวอักษร เช่น TT, tt และTt 8. Phenotype หมายถึง ลักษณะที่ปรากฏออกมาให้เห็นซึ่งเป็นผลจากการแสดงออกของยีน เช่น ต้นสูง, ต้นเตี้ย 9. Homozygous gene / homozygous genotype หมายถึง ยีนที่เหมือนกันจับคู่กัน เช่น GG, gg 10. Homozygous dominant หมายถึง จีโนไทป์ที่มียีนเด่นทั้งหมด เช่น GG หรือ TT 11. Homozygous recessive หมายถึง จีโนไทป์ที่มียีนด้อยทั้งหมด เช่น 12. Heterozygous gene / heterozygous gentype หมายถึง ยีนที่แตกต่างกันจับคู่กัน เช่น Gg 13. Homologous chromosome หมายถึง โครโมโซมที่เป็นคู่ที่เหมือนกัน มียีน (gene) ที่ควบคุมลักษณะ เดียวกันอยู่บนตำแหน่งเดียวกันบนโครโมโซม (chromosome) ที่เป็นคู่กัน หรือ คำชี้แจง : ให้นักเรียนร่วมกันอธิบายการศึกษาพันธุกรรมของเมนเดล 1. ให้นักเรียนอธิบายว่ามีเหตุผลอะไรบ้างที่ทำให้เมนเดลเลือกถั่วลันเตาเป็นพืชทดลอง (2 คะแนน) 2. ให้นักเรียนเติมผลการทดลองผสมพันธุ์ถั่วลันเตาทั้ง 7 ลักษณะ ของเมนเดลให้ถูกต้อง (5 คะแนน) ในห้ะ ลักษณะ รุ่นพ่อแม่ (P) ลักษณะเด่น ลักษณะด้อย ลักษณะของ อัตราส่วนของลักษณะเด่นต่อ อัตราส่วนลักษณะด้วยในรุ่น F2 รุ่น F สูงทั้งหมด 1.ความสูงของลำต้น ต้นสูง ต้นเตีย 2.84 : 1 2. 3. 4. 5. 6. 7.

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
ชีววิทยา มัธยมปลาย

วิชาชีววิทยา เรื่องวิวัฒนาการม.4 ช่วยหาคำตอบด้วยค่ะ🙏🏻

แบบทดสอบเรื่อง :วิวัฒนาการ ชื่อ-สกุล ชั้น...เลขที่.. คำสั่ง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง (20 คะแนน) 1. วิวัฒนาการ คือ (1 คะแนน) 2. โครงสร้างต่อไปนี้จัดเป็นโครงสร้างแบบ Homologous structure, หรือ Analogous structure 2.1 ปีกแมลง ปีกนก (1 คะแนน) 2.2 แขนคน ขาเสือ (1 คะแนน) 2.3 ปีกค้างคาว - ครีบด้านข้างโลมา (1 คะแนน) 3. ช่องเหงือกในช่วงตัวอ่อนของมนุษย์ เมื่อเป็นตัวเต็มวัยจะกลายเป็นโครงสร้างใด (1 คะแนน) 4. ให้นักเรียนอธิบายแนวคิดเรื่องวิวัฒน วัฒนาการของ ลามาร์ก (2 คะแนน) 5. ให้นักเรียนอธิบายแนวคิดเรื่องวิวัฒนาการของ ดาร์วิน (2 คะแนน) 6. ให้นักเรียนบอกปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่แอลลีล มาอย่างน้อย 3 ปัจจัย (2 คะแนน) 7. บอกความแตกต่างระหว่างการกำเนิดสปีชีส์แบบ allopatric และ sympatric speciation (2 คะแนน)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ🙏

24 ลองทำดู เพื่อรู้จริง เพื่อน ช่วย เพื่อน : ให้นักเรียนจับกลุ่มร่วมกันระดมความคิด พิชิตโจทย์ ใบกิจกรรมการเรียนรู้ ที่ 1 คำชี้แจง : ให้นักเรียนนำตัวอักษรด้านล่างใส่ลงหน้าข้อความ โดยข้อความนั้นเป็นข้อความที่ สัมพันธ์กันมาก ที่สุด ลักษณะที่ไม่แสดงออกมา หรือถูกข่มเมื่ออยู่ในสภาพเฮเทอโรไซกัส คู่อัลลีลที่ประกอบด้วยรูปแบบอัลลีลเหมือนกัน ต้นสูง ต้นเตี้ย , สีเขียว , เมล็ดเรียบ , เมล็ดขรุขระ ฝักสีเหลือง อัลลีลลักษณะต้อยที่อยู่ด้วยกันเป็นคู่ 1. 2. 3. 4. 5. หน่วยที่ทำหน้าที่ในการกำหนดลักษณะทางพันธุกรรม และเป็นส่วนหนึ่งของ DNA ต้นถั่วลันเตาที่เกิดขึ้น ดขึ้นจากการผสมกันของรุ่น P 6. 7. ลักษณะที่แสดงออกมาในสภาพเฮเทอโรไซกัส คู่อัลลีลที่ประกอบด้วยอัลลีลที่มีรูปแบบต่างกัน 8. ลลิส กลุ่ม หรือชุดของอัลลีลของสิ่งมีชีวิต โดยทั่วไปมักจะอยู่เป็นคู่ ๆ ตำแหน่งของยีนที่อยู่บนโครโมโซมคู่เหมือน 9. 10. B. Recessive C. Heterozygous allele A. Gene F. Dominant E. Character D. Phenotype 1. Aleles G. Genotype H. homozygous allele L. First filial generation K. Monohybrid cross 3. Homozygous recessive 0. Ribonucleic acid M. Locus N. Homologous chromosome

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ🙏

24 ลองทำดู เพื่อรู้จริง เพื่อน ช่วย เพื่อน : ให้นักเรียนจับกลุ่มร่วมกันระดมความคิด พิชิตโจทย์ ใบกิจกรรมการเรียนรู้ ที่ 1 คำชี้แจง : ให้นักเรียนนำตัวอักษรด้านล่างใส่ลงหน้าข้อความ โดยข้อความนั้นเป็นข้อความที่ สัมพันธ์กันมาก ที่สุด ลักษณะที่ไม่แสดงออกมา หรือถูกข่มเมื่ออยู่ในสภาพเฮเทอโรไซกัส คู่อัลลีลที่ประกอบด้วยรูปแบบอัลลีลเหมือนกัน ต้นสูง ต้นเตี้ย , สีเขียว , เมล็ดเรียบ , เมล็ดขรุขระ ฝักสีเหลือง อัลลีลลักษณะต้อยที่อยู่ด้วยกันเป็นคู่ 1. 2. 3. 4. 5. หน่วยที่ทำหน้าที่ในการกำหนดลักษณะทางพันธุกรรม และเป็นส่วนหนึ่งของ DNA ต้นถั่วลันเตาที่เกิดขึ้น ดขึ้นจากการผสมกันของรุ่น P 6. 7. ลักษณะที่แสดงออกมาในสภาพเฮเทอโรไซกัส คู่อัลลีลที่ประกอบด้วยอัลลีลที่มีรูปแบบต่างกัน 8. ลลิส กลุ่ม หรือชุดของอัลลีลของสิ่งมีชีวิต โดยทั่วไปมักจะอยู่เป็นคู่ ๆ ตำแหน่งของยีนที่อยู่บนโครโมโซมคู่เหมือน 9. 10. B. Recessive C. Heterozygous allele A. Gene F. Dominant E. Character D. Phenotype 1. Aleles G. Genotype H. homozygous allele L. First filial generation K. Monohybrid cross 3. Homozygous recessive 0. Ribonucleic acid M. Locus N. Homologous chromosome

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/6