ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ 🥺🥺🥺

1. จงอธิบายกระบวนการเคลื่อนที่โดยใช้เท้า (การไหลของไซโตพลาซึม) 2. จงอธิบายการเคลื่อนโดยการใช้ระบบท่อน้ำของดาวทะเล 3. จงอธิบายเปรียบเทียบการเคลื่อนที่โดยกล้ามเนื้อบริเวณ jumping leg ของแมลง กับกล้ามเนื้อที่ใช้เหยีดแขน และงอแขนของมนุษย์ 4. จะเกิดอะไรหากเอ็นยึดกระดูก (tendon) บริเวณเข่าได้รับบาดเจ็บจนขาด 5. หากต่อมใต้สมองส่วนหน้าได้รับความเสียหายจนไม่สามารถทำงานได้จะเกิดอาการผิดปกติใดขึ้น จงยกตัวอย่าง อย่างน้อย 3 อาการพร้อมบอกกระบวนการหรือเหตุผลที่ทำให้เกิดอาการนั้น (บอกอาการและกระบวนการที่เกิด อาการ ไม่ใช่บอกแค่ไม่สามารถผลิตฮอร์โมน...ได้ (หากบอกแค่นี้จะไม่ได้คะแนน) 6. ฮอร์โมนสามารถเคลื่อนที่จากต่อมไร้ท่อจนไปมีผลต่ออวัยวะเป้าหมายได้อย่างไร จงอธิบายอย่างละเอียด 7. หมอตรวจพบว่าข้าวตังไม่สามารถย่อยอาหารประเภทสิพิตได้เมื่อตรวจละเอียดพบว่าอวัยวะที่ผลิต lipase ได้รับ ความเสียหายเป็นส่วนใหญ่นักเรียนคิดว่าข้าวจะมีปัญหาอะไรตามมาในด้านการเมแทบอลิซึม 8. จงอธิบายยกตัวอย่างกระบวนการควบคุมแบบป้อนกลับ 1 กระบวน (เป็นการควบคุมการหลั่งฮอร์อะไร และ เป็นการกระตุ้นหรือยับยั้งก็ได้)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

บอกคำตอบหน่อยค่ะ

คอนที่ 1 : ให้นักเรียนนำตัวอักษร ก -ต มาเติมในช่องว่าง ให้มีความสัมพันธ์กัน .1. ไมโตคอนเดรีย ก. เป็นส่วนที่มีไรโบโชมมาเกาะอยู่ 2. คลอโรพลาสต์ ข. ส่วนที่ยื่นเข้าไปเรียกว่า ครีวตี ของเหลว เรียกว่า เมทริกซ์ 3. ไรโบโชม ค. เกี่ยวข้องกับกระบวนการการสังเคราะห์ด้วยแสง .4. ไลโซโซม ง. มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น เรียก ว่า ฟอสโฟลิพิคไบเลเยอร์ ..5. กอลจิคอมเพล็ก จ. เป็นบริเวณที่ยืดเส้นใยสปินเดิล ช่วยในการ .6. เยื่อหุ้มเชลล์ เคลื่อนที่ของโครโมโชม 7. แวคิลโอล น. สังเคราะห์โปรตื่น ประกอบด้วยหน่วยย่อย 2 .8. เอ็นโดพลาสมิกเรติคิวลัม ชนิดขรุขระ หน่วย คือ หน่วยเล็กและหน่วยใหญ่ .9. เซนทริโอล ร. สร้างไลโซโชม 10. เอ็นโดพลาสมิกเรติคิวลัมชนิดเรียบ ย. ย่อยสลายและทำลายสิ่งแปลกปลอมต่างๆ 11. ผนังเซลล์ บ. สังเคราะห์ ลิพิด -12. นิวเคลียส ต. รักษาดุลยภาพของน้ำ ต. ควบคุมการแบ่งเซลล์

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ

1. หากสมมติพื้นที่ของใบไม้ 3 ตารางเมตร มีแสงมาตกกระทบ 3 umol ภายใน 3 วินาที บริเวณนี้จะได้รับแสงที่มีความเข้มแสงเท่าใด (ในหน่วย umol m s) จงแสดงวิธีการคำนวณ 2. จงเติมคำในข้อความต่อไปนี้ พืช C4 เช่น - (เขียนชื่อพืช 1 ชนิด) จะมีคลอโรพลาสต์ในชั้น Bundle sheath ทำให้มี ความสามารถในการตรึง CO, ได้ดีกว่า C, ประมาณ 3 เท่า เกิดการตรึง C0, จากอากาศในชั้น และมีการตรึง CO, ต่อในชั้น สารตัวแรกที่เกิดขึ้นหลังการตรึง CO, ครั้งแรก คือ (มี C 4 อะตอม) 3. จงเติมคำลงในช่องว่างของตารางการเปรียบเทียบการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช C, พืช C4 และพืช CAM ข้อเปรียบเทียบ พืช C, พืช Ca พืช CAM 3.1 เอนไซม์ที่ใช้ในการตรึง คาร์บอนครั้งแรก 3.2 สารเสถียรชนิดแรกที่ได้ จากการตรึงคาร์บอน 3.3 ช่วงเวลาการเปิดปากใบ เพื่อนำ CO, เข้า (เดิมคำว่า กลางวันหรือกลางคืน) 3.4 สารประกอบคาร์บอนที่ เป็นผลิตภัณฑ์จากการ สังเคราะห์ด้วยแสง ที่จะ นำไปใช้ในกระบวนการต่างๆ ของพืช

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

สรุประบบต่อมไร้ท่อ #tonty

Endocrine pancreas - Pancreatic islet 1) Algha cells -- Glucagon การทำงานร่วมกันของระบบต่อมไร้ท่อ 4 ระบบประสาทา Hupothalamus Hormone 2.) Beta Cells - Tทรuliท L Hupothalamus ทeuเrotransmiter : ถ่ายทอดกระแสประสาท * neurohormone : ควบคุมการทำงานของต่อมใต้สมอง : ตัวเชื่อมระหว่างระบบประสาท + ระบบต่อมิไว้ท่อ - GIC000ก : เพิ่มสะดับน้ำตาลในเสือด โทรalin : ลดระดับน้ำตาสในเลือด เ1) Hormones 2.) Homeostasis 2) Bologionl clock * hormoneaากhupithalamus มี 2 ปะเภท 1) สร้าง hormone alดม Anterior pitifory g 2.) สำa hormonealก็บที่ Pesterim ptiaig กmรทำงานในที่มืด หลั่งมาก 3 ทุ่ม - 4ทุ่มเมื่อให้ง่อง Rneal glord (กeatonก : ปรับนาฬิกาชีวิต- ส่วงนอน, สื่นนอน Endocrine Gland 5ทุ่มโกรทอองโมนทำงาน ใด็กแสกเกิดมีเมลาโทนินมากที่ไให้นอนเยอะ -Endocine -EX0orine : ต่อม สานุสร้าง หลั่งเข้ากระแสเลือด : อต่อม - สร้างสาร- หลังสารออกมาตรงตอม Pederior Rutary 9 ระบบต่อมไว้ท่อ Endocrine susiemT สดโมนอื่นๆ เ ดูดน้ำกลับที่ต่อไต-หลอดเลือด - ปัสาวะเข็มขั้น (นำนิอย) Roslerior Piutory 9. สร้าง ADH'ได้น้อย ดูดกลับน้อย ปัสสาวะจาง ฮอร์โมน การทำงานของสอร์โมน + - 40G : humaก chorionic gondotrophin สร้างจากสก - humsin : สร้าง จากเซลลบางส่วนของไทามัส เกี่ยวกับ T-cel ให้ไดามัส เGasin : สร้างจากกระเพาะ Hol -Seoretin : สร้างจากการดูโจติฉัมหลังโซเดี่ยม - ไฮโดงเจนศาสับอเนต เoleogs dkin : สถ้างจากดูโจดินัม กระตู้นการบีบตัวยองถุงน้ำด่งดับอ่อน หวั่งเสนไซม์ -Ethrmpidin : ส้างจากไตกระตุ้น ก ลส้าง RB0 1) รักษาดูลขภาพของร่างกาย 2)การเจริญเติบโต 3) การแสดังพฤติกรรม stimulus of hormone sunthesis & secretion 1. Humoral simulus : สนในเลือดกระตุ้น การสร้างการหลัง 2. Neural simulus : ระบบประสาท ก็ระตุ้น กสสร้าง หลัง 3 Harmonal simulus : hormone เป็นตัวกระตุ้น กาสร้าง หลัง Regulation of hormone secretion 1. คSstiye feedbgck, : กลีเกที่จะส่งให้ ร่างกายเพิ่ม หยุดเมื่อทำงานเสร็จ E การคลอดลูก 2. Nenadive feed bogk : กลไกที่จะสั่งให้ส่างกายหยุด หยุดการทำงานเมื่อยู่ใน set point ทำงานส่วมกับprolactic โดยจะหลัง 2 เวลา คือ กำลังคลอด ใหิหมลูก function : 1) หลั่งน้ำนม 2) ปียมคลูก พคลูกหดตัวเวลาคลอด 9 + Adrenol Hormone Andosterone - Corisd - Adrenaline - (Nora drenaline ทำงานในภาวะกดอ้น & เครียด การออกฤทธิ์ของ hormone - แrier sble : Proiein, Amine,Gily.coprotein - Fal Soladle : steroid hormone, Thurid hormone Sex Hormones - โesos terone : male secondary Se1 characierisic "Ssingen : Femole sgondary sex characterisfic - Progesiene : mรตั้งครรภ์ - เยี่งบุมดลูกหนาตัว Hormonal communication Endocrine signaling Paracrine sianaling ไม่เข้ากระแสเลือด Aidocring Signaling)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ข้อสอบชีวะเป็นข้อเขียนครับ

นิคม 1. ลอราร่า เห็นธนบัตร 1000 บาทวางอยู่บน พื้น จึงรีบเดินเข้าไปเอาผ้าปิดไว้หันมองรอบๆ ตัวเมื่อเห็นว่าไม่มีใคร จึงก้มลงหยิบใส่กระเป๋า แล้วรีบเดินจากไป จงอธิบายการทำงานร่วมกัน ของระบบประสาทกับการเคลื่อนไหว (7) 08:11 น. นิคม 2. ประสิทธิภาพการรับรู้และตอบสนองต่อสิ่ง เร้าของสิ่งมีชีวิตขึ้นอยู่กับปัจจัยใดบ้าง( 5) 08:11 น. นิคม 3. เวลาไอหรือจามแรงๆมักหูอื้อและน้ำตาไหล เป็นเพราะอะไร (5) 08:11 น. นิคม 4. ถ้าระบบประสาทอัตโนวัติมีเฉพาะระบบประ สาทซิมพาเทติกจะเกิดผลอย่างไร (3) 08:11 น.

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

รบกวนหน่อยครับ

21:21 น. 73% การตกไข่ 57. เมื่อนำเลือดหญิงตั้งครรภ์ 5 เดือน ไปตรวจจะพบระดับฮอร์โมนตามข้อใด ระดับสูง ระดับต่ำ 1. LH E FSH P 2. FSH E LH P น. 3. LH P FSH E P LH E E = estrogen 4. FSH P FSH P = progesterone 5. LH E 58. สารและฮอร์โมนในข้อใดเกี่ยวข้องกับตับอ่อนและตับของคน 1. ก = กลูโคส, ข = ไกลโคเจน, ค = อินซูลิน, ง = กลูคากอน 2. ก = ใกลโคเจน, ข = กลูโคส, ค = อินซูลิน, ง = กลูคากอน 3. ก = ไกลโคเจน, ข = กลูโคส, ค = กลูคากอน, ง = อินซูลิน 4. ก = กลูโคส, ข = ไกลโคเจน, ค = กลูคากอน, ง = อินซูลิน 5. ก = ไกลโคเจน, ข = กลูโคส, ค = อินซูลิน, ง = คอร์ติซอล | น้ำตาลในเลือดสูงขึ้น ระดับน้ำตาลในเลือดสูง ตับออนส น้ำตาลในเลือดต่ำลง ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ 59. เมื่อนำปัสสาวะของนางมะลิมาทดสอบกับสารละลายเบเนดิกต์ แล้วนำไปต้มจนเดือดได้ตะกอนสีอิฐของ Cu,0 แสดงว่านางมะลิขาดฮอร์โมนชนิดใด 1. อินซูลิน 4. คอร์ติซอล 3. โพรเจสเทอโรน 2. กลูคากอน 5. แอนติไดยูเรติกฮอร์โมน (ADH) 60. ในการสังเคราะห์อินซูลินของเซลล์ตับอ่อน จะมีการทำงานร่วมกันของออร์แกเนลล์ตามลำดับขั้นตอนคาม ข้อใด ข. เอนโดพลาสมิกเรติคิวลัม ค. กอลจิบอดี ก. นิวเคลียส ง. ไลโซโซม จ. ไรโบโซม 3. ก * ค -+ ข +ง 1. จ %ข * ค ง 2. จ *ข *ง * ค 4. ก + ป * ข * ค 5. ก + ป + ข * ค *ง จากผลการวัดระดับน้ำตาลในเลือดของนาย ก. 61. และนาย ข หลังจากรับประทานอาหารประเภท คาร์โบไฮเดรต เปรียบเทียบกับนาย ค ขณะว่ายน้ำ 200F 150 ถ้านาย ก และนาย ข ออกกำลังกายโดยว่ายน้ำ อย่างหนักเหมือนนาย ค ระดับน้ำตาลในเลือด 100 50 0 0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0 3.5 4.0 ควรเป็นอย่างไร ช่วงเวลาหลังจากรับประทานอาหาร (ชม.) 1. ก> ค > ข น 2. ก > ข > ค 3. ก = ข = ค 4. ภ ใกล้เคียงกับ ข แต่สูงกว่า ค. 5. ข ใกล้เคียงกับ ค แต่ต่ำกว่า ก. 62. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับกลไกการออกฤทธิ์ของฮอร์โมน ก. ตัวรับฮอร์โมนพวกโปรตีนและสเตอรอยด์จะอยู่ที่ตำแหน่งต่างกันของเซลล์ ข. ฮอร์โมนพวกเพปไทด์และเอมีนสามารถผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้ ค. ฮอร์โมนพวกสเตอรอยด์เกี่ยวข้องกับตัวนำข่าวสารตัวที่สอง 1. ข้อ ก 2. ข้อ ข 3. ข้อ ก และ ข 4. ข้อ ข และ ค 5. ข้อ ก, ข และ ค 63. ไต ต่อมไทรอยด์ และต่อมพาราไทรอยด์ ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมควบคุมการทำงานในข้อใดร่วมกน 1. ปริมาณน้ำตาลในเลือด 4. การเจริญเติบโตของร่างกาย 2. ความดันเลือด 3. ปริมาณแคลเซียมไอออนในเลือด 5. ปริมาณ Na, K', CI ในเลือด ถ้าตัดอวัยวะ A ออกจะไม่มีผลกระทบต่อข้อใด 1. การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด 64. ระดับน้ำตาลในเลือด (mg/100 cm)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ทำไม่เป็นค่ะ ไม่เข้าใจครูสอนเลย ช่วยหน่อยนะคะ อธิบายให้ด้วยก็ยิ่งดี

การนำเสนอสไลด์ PowerPoint - [บทที่ 4] - PowerPoint ยืนควบคุมลักษณะผิวเผือกมี2 แอลลีล คือ A - ผิวปกติและ a - ผิวเผือก และ ยีน ควบคุมการมีลักยิ้มมี 2 แอลลีล คือ B มีลักยิ้ม และ b ไม่มีลักยิ้ม ถ้าพ่อมี ลักษณะผิวปกติ และมีลักยิ้มแบบ heterozygous แต่งงานกับแม่ที่มีลักษณะผิว เผือกและไม่มีลักยิ้ม จงหา จำนวนรูปแบบของจีโนโทป์ 2) จำนวนรูปแบบของฟีโนโทป์และ และอัตราส่วนของจีโนโทป์ อัตราส่วนของฟีโนโทป์ 3) โอกาสที่ได้ลูกชายคนที่สองมีลักษณะผิว ปกติและไม่มีลักยิ้มเป็นเท่าใด 1)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ชีววิทยา มัธยมปลาย

ขอวิธีทำอย่างละเอียดหน่อยค่ะ เรียนในห้องไม่ค่อยเข้าใจเท่าไร ช่วยเเสดงวิธีทำ+สอนทำด้วยนะคะ ขอบคุณมากๆเลยค่ะ

แบบฝึกหัดที่ 3.2 จงตอบคำถามเกี่ยวกับพันธุศาสตร์ประชากร 1. ลักษณะพันธุกรรมหนึ่งมียีนควบคุม 2 แอลลีล คือ A , กับ A ซึ่งทำให้เกิดจีโนไทป์ได้ 3 แบบ คือ A,4, 4,4, AA, จงคำนวณหาว่า ในยีนพูลนี้ จะมีความถี่จีโนไทป์เป็นเท่าใด กำหนด ให้ประชากรเริ่มต้นมีความถี่ A , = 0.2 และ A, - = 0.8 2. จากการสำรวจประชากรกลุ่มหนึ่งในประเทศแคนาดาจำนวน 6,129 คน พบว่ามีหมู่เลือด ดังนี้ ส MM = 1,787 คน MN = 3,039 คน NN =. 1,303 คน จงคำนวณหาความถี่ของแอลลีล M. และ N จากการสำรว (BB) 51%

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0