ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ทุกคนเราทำมธถูกก

1. Ga กิจกรรมที่ 2 : สนุกคิดหาค่าตอบ 27 คำชี้แจง : ให้นักเรียนพิจารณาข้อความต่อไปนี้ และตอบว่าขอใดเป็นนิยามเชิงปฏิบัติการหรือนิยามทั่วไป แต่ละโมเลกุลประกอบด้วยธาตุออกซิเจน 2 อะตอม d do 2. ออกซิเจนเป็นแก๊สชนิดหนึ่งที่ช่วยให้เกิดการเผาไหม้ ถ้าเรานํากานธูปที่ติดไฟเกือบจะมอดแล้ว แทยอ กระบอกที่มีแก๊สออกซิเจนอยู่ ก้านธูปจะลุกเป็นเปลวไฟขึ้นมา 3. ตัวนำไฟฟ้า คือ วัตถุที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้ง่าย เพราะมีค่าความต้านทานไฟฟ้าต่ำ เมื่อนำมาเป็น ตัวนำไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าอุปกรณ์ไฟฟ้าก็จะทำงานได้ตามปกติ วัตถุที่นำไฟฟ้าได้ดีส่วนมากจะเป็นโลหะ เช่น เงิน ทองแดง ทอง อลูมิเนียม แพลทินัม เป็นต้น 4. นกเป็นสัตว์ชนิดหนึ่ง มี 2 ขา บินได้ สืบพันธุ์โดยการวางไข่ 5. วัตต์ เป็นหน่วยวัดค่ากำลังไฟฟ้า 6. ความหนาแน่น ผลลัพธ์ที่ได้จากการหาค่าอัตราส่วนระหว่างมวลของวัตถุ ซึ่งมีหน่วยเป็นกิโลกรัมกับปริมาตร ซึ่งมีหน่วยเป็น ลูกบาศก์เมตร เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้เกิดการลอยหรือจมของวัตถุ โดยวัตถุที่มีความหนาแน่นน้อย มีแนวโน้มจะลอยอยู่บนวัตถุที่มีความหนาแน่นมากกว่า คำชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนนิยามเชิงปฏิบัติการของคำที่กำหนด 1. นิยามเชิงปฏิบัติคำว่า “ก้านไม้ 2. นิยามเชิงปฏิบัติคำว่า “แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 3. นิยามเชิงปฏิบัติคำว่า “วัชพืช”

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยครับไม่เข้าใจเรื่องนี้เลย

19) ใช้น้ำเย็น 200 กรัม อุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียส ผสมกับน้ำร้อน 90 องศาเซลเซียส แล้วได้น้ำอุณหภูมิผสม เท่ากับ 50 องศาเซลเซียส จงหามวลของน้ำร้อนที่ใช้ในการผสมครั้งนี้ กำหนดให้ C = 1 cals °C) ตอบ 20) ใช้น้ำแข็ง 25 กรัม อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส ผสมกับน้ำมวล 50 กรัม อุณหภูมิ 75 องศาเซลเซียส จงหา อุณหภูมิผสมของน้ำ (กำหนดให้ น้ำแข็ง = 0.5 cal/g °C, C = 1 calg °C, หลอมของน้ำ = 80 cals) ตอบ 21) การถ่ายโอนความร้อน หมายถึง ตอบ 22) การนําความร้อนเกิดขึ้นได้อย่างไร พร้อมทั้งยกตัวอย่าง ตอบ 23) การพาความร้อนเกิดขึ้นได้อย่างไร พร้อมทั้งยกตัวอย่าง ตอบ 24) การแผ่รังสีความร้อนเกิดขึ้นได้อย่างไร พร้อมทั้งยกตัวอย่าง ตอบ 25) เมื่อเกิดเหตุการณ์ไฟไหม้ในอาคาร เพราะเหตุใดผู้ประสบภัยจึงต้องหมอบและคลานต่ำถึงจะปลอดภัย ตอบ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยได้ไหมคะ🙏🏻🙏🏻🙏🏻

9. คำถามทบทวน ลักษณะทางกายภาพของคลื่น • สันคลื่นและท้องคลื่นอยู่ตำแหน่งใด คำตอบ • คลื่นที่เกิดขึ้นมีแอมพลิจูดและความยาวคลื่นเป็นเท่าใด คำตอบ 10. แอมพลิจูดของคลื่น จะขึ้นอยู่กับพลังงานที่ใช้ในการรบกวนตัวกลาง - ถ้ารบกวนตัวกลางของคลื่นด้วยพลังงานน้อย คลื่นจะมี - และ ถ้ารบกวนตัวกลางของคลื่นด้วยพลังงานมาก คลื่นจะมี 11. เพราะเหตุใดคลื่นสึนามิที่มีแอมพลิจูดสูง จึงสามารถทำความเสียหายให้กับชีวิตและทรัพย์สินริมชายฝั่งทะเลได้มาก คําตอบ 12. ความถี่คลื่น (1) คือ จำนวนรอบที่ตัวกลาง มีหน่วยเป็น - ความถี่น้อย ลูกคลื่นน้อย คลื่นมีความถี่ - ความถี่มาก ลูกคลื่นมาก คลื่นมีความถี่ 13. นักเรียนใช้ดินสอแตะผิวหน้าของน้ำที่จุด A แล้วสังเกตพบว่าเกิดคลื่น . เคลื่อนที่จากจุด A ไป B และพบว่าเม็ดโฟมที่อยู่บน ผิวน้ำเคลื่อนที่ขึ้น ลงในแนวดิ่ง ดังภาพ คำตอบ คลื่นสปริงนี้มีความเป็น หรือ ภาพตัดขวางผิวหน้าของน้ำ โจทย์ถามว่า ถ้าพบว่า ในเวลา 5 วินาที เม็ดโฟมเคลื่อนที่ขึ้นลงครบ 8 รอบพอดี คลื่นดังกล่าวมีความถี่เท่าใด คำตอบ คลื่นน้ำที่มีความเป็น 14. โจทย์ถามว่า ถ้านักเรียนสะบัดสปริงอย่างต่อเนื่องให้เกิดคลื่นตามขวาง เมื่อเวลาผ่านไป 2 วินาที สังเกตคลื่นในสปริงที่เกิดขึ้นได้เป็นดังภาพ คลื่นดังกล่าวมีความถี่เท่าใด เรื่องที่ 2 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 15. ลักษณะคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ความยาวคลื่น ความยาวคลื่น.. ตอบ ในการเคลื่อนที่ ระยะในแนวดิ่ง (cm) - เป็นคลื่นที่.. - จะอาศัยการเหนี่ยวนำ - เคลื่อนที่ในสุญญากาศด้วยอัตราเร็ว ๆ - คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแบ่งออกเป็นช่วงความถี่ต่าง ๆ เรียกว่า 16. แต่ละช่วงความถี่มีชื่อเรียกต่างกัน ได้แก่ 17. การใช้ประโยชน์จากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คือ 18. การเกิดโทษต่อมนุษย์จากการใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คือ 19. คำถามทบทวน คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า - ความถี่ ความยาวคลื่น และพลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีความสัมพันธ์กันอย่างไร ตอบ แต่จะเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว เสียงที่ได้ยินจากเครื่องรับวิทยุเป็นคลื่นกลหรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เพราะเหตุใด B ระยะในแนวระดับ (cm) เพื่อส่งผ่านพลังงานที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง ในตัวกลางอื่น CoXXI

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่ะ

ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ 1. ยกตัวอย่างปริมาณแวกเตอร์และปริมาณสเกลาร์ อย่างละ 3 อย่าง 2. หาขนาดของแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุดังต่อไปนี้ CLAN 3. น้ำฝน และไอซ์ออกแรงกระทำต่อวัถุดังภาพ ถ้าออกแรง 9 นิวตัน ฝนออกแรง 12 นิวตัน ไอซ์จะออกแรงเท่าไร วัตถุจึงจะหยุดนิ่ง (แสดงวิธีทำ Nu แรงกระท่าพ่อวัด ร แว ถ้าแอลใช้เวลาในการเล่นสกีจากยอดเขามาถึงเนินเขา 4. แองเล่นสกีจากยอดเขาลงมาถึงเนินเขาตามเส้นทางดังภาพ 100 วินาที 1 ระยะทาง 2 การกระจัด 3 อัตราเร็ว 4 ความเร็ว 1.000 33 400 เมต 5. ไม้ยาว 4 เมตรนำไปจัดหินหนัก 400 นิวตัน ให้เคลื่อนที่ ถ้าต้องการออกแรงเพียง 100 นิวตัน ควรจะนำก้อนหินก้อน เล็กๆมาหมุนไม้ที่ตำแหน่งใด 100 an 6. นำวัตถุ A หย่อนลงในน้ำ มีปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลต่อการจมการลอยของวัตถุ A 7. เมื่อนำวัตถุ A วางใกล้กับวัตถุ B วัตถุทั้งสองจะผลักกัน แต่เมื่อนำวัตถุ B วางใกล้กับวัตถุ C วัตถุทั้งสองจะดูดกัน ถ้า วัตถุ A มีประจุบวก วัตถุ B และ C จะมีประจุใดตามลำดับ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่ะ

8. เด็ก เวลาโ 9. รถมอเต วินาที หา 10. ให้นักเรียนตอบคําถามต่อไปนี้ 1. ในร่างกายของมนุษย์มีระบบอวัยวะหลายระบบ นักเรียนคิดว่าระบบใดสำคัญที่สุด เพราะเหตุใด 2. อวัยวะทุกอวัยวะภายในร่างกายทำงานอยู่ภายใต้อำนาจของจิตใจใช่หรือไม่ อย่างไร การหายใจเข้าและการหายใจออกเกิดจากการทำงานของอวัยวะใด อย่างไร 3. 4. ของเสียที่ต้องขับออกจากร่างกาย เช่น ปัสสาวะ อุจจาระเหงื่อ ขับออกจากร่งกายโดยอวัยวะใดบ้าง 5. เพลตเลตมีลักษณะอย่างไร ทำหน้าที่อะไร 6. ถ้าสมองถูกทำลายผลจะเป็นอย่างไร 7. ประจำเดือนคืออะไรและเกิดขึ้นได้อย่างไร 8. การคุมกำเนิดมีประโยชน์อย่างไร 9. เมื่อทดสอบน้ำหมึกสีดำไปแยกหาองค์ประกอบโดยวิธีโครมาโทกราฟี ซึ่งใช้ทำเป็นตัวทำละลายและใช้กระดาษกรอง เบอร์ 2 เป็นตัวดูดซับ ปรากฏว่าได้ผลดังภาพ คือได้สารที่มีสีแยกออกมาเป็นสาร A B และ C ตามลำดับ กระดาษกรอง (กระดาษใครมาโทกร จุดหยดน้ำหมึกสีดำ . จากผลการทดลอง สารที่มีสีชนิดใดละลายน้ำได้ดีที่สุด ทราบได้อย่างไร • ในน้ำหมึกสีดำมีสารเป็นองค์ประกอบชนิด • สารที่มีสีเป็นองค์ประกอบในน้ำหมึกสีดำชนิดใดถูกกระดาษกรองดูดซับไว้ได้มากที่สุด 10. ตอบคำถาม โดยเลือกคำตอบที่กำหนดไว้ให้ ดังนี้ การกลั่น การระเหยแห้ง การแยกสารต่างๆ ด้วยน้ำหมึกสีแดง ควรใช้วิธีการใด • การแยกน้ำจากสารละลายหมึกสีแดง ควรใช้วิธีการใด • การแยกเกลือจากน้ำทะเล ควรใช้วิธีการใด • การแยกน้ำมันหอมระเหยออกจากดอกกุหลาบ ควรใช้วิธีการใด การแยกน้ำบริสุทธิ์ออกจากน้ำทะเล ควรใช้วิธีการใด ● การกรอง วิธีโครมาโทกราฟี การกลั่นด้วยไอน้ำ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่าาา🥺🙏

8 หน่วยที่ 1 | วิทยาศาสตร์กับการแก้ปัญหา หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กิจกรรมที่ 1.2 วิทยาศาสตร์ช่วยแก้ปัญหาได้อย่างไร จุดประสงค์ แก้ปัญหาจากสถานการณ์ที่กำหนดให้ โดยประยุกต์ใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ วัสดุและอุปกรณ์ 1. น้ำแข็งก้อน 6. พลาสติกห่ออาหาร 2. อ่างหรือจานพลาสติก 7. โฟมยางหรือ 3. กระดาษ A4 ฟิวเจอร์บอร์ด 4. กระดาษหนังสือพิมพ์ 5. อะลูมิเนียมฟอยล์ 8. กรรไกรหรือคัตเตอร์ 9. กาว สถานการณ์ ปัจจุบันภาวะโลกร้อนส่งผลต่อสภาพอากาศทั่วโลก แม้กระทั่งพื้นที่หนาวเย็นอย่างขั้วโลกใต้ อุณหภูมิที่สูงขึ้นมากจน ส่งผลต่อการดำรงชีวิตของสัตว์ที่อาศัยอยู่ เช่น นกเพนกวิน เพราะ แผ่นนาแข็งที่เป็นที่อยู่อาศัยหลอมเหลวเร็วขึ้นทําให้ไม่เหมาะสม ต่อการดำรงชีวิตอีกต่อไป หากสมมุติให้นักเรียนเป็นนักวิทยาศาสตร์ ที่ต้องช่วยออกแบบและสร้างอุปกรณ์ที่ช่วยทำให้แผ่นน้ำแข็ง หลอมเหลวช้าลงในสภาพอากาศที่ร้อนขึ้น อุณหภูมิห้อง) โดย สามารถออกแบบและเลือกใช้วัสดุที่กำหนดให้เท่านั้น นักเรียน 210 คิดว่าจะช่วยเหลือนกเพนกวินได้หรือไม่ อย่างไร วิธีการดำเนินกิจกรรม 1. อ่านและวิเคราะห์สถานการณ์ เพื่อระบุปัญหา บันทึกผล 2. รวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหา วิเคราะห์แนวทางแก้ไขปัญหาที่เป็นไปได้สำรวจตรวจสอบ จะเป็นการสืบค้นข้อมูล สำรวจ ทดลองเพิ่มเติมในประเด็นต่าง ๆ เช่น ปัจจัยใดบ้างที่ทำให้น้ำแข็งหลอมเหลว ● - วัสดุแต่ละชนิดสามารถป้องกันการหลอมเหลวของน้ำแข็งได้แตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร การถ่ายโอนความร้อนจากภายนอกสู่ภายในอุปกรณ์เกิดได้อย่างไร ● ถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 10. เทอร์มอมิเตอร์ 11. เครื่องชั่ง 12. เทปใส 3. 4. 5.

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

เพื่อนๆช่วยเราหน่อยน่ะะะะะ เหลือดวลาไม่กี่วันเเล้ว ใครที่ผ่านมาเจอโพสต์นี้ช่อยเราหน่อยน่ะ

12) การเผาไหม้เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์จะมีการปล่อยแก๊สใดบ้างออกสู่บรรยากาศ และมีผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อมอย่างไร ตอบ 13) พลังงานสิ้นเปลืองและพลังงานหมุนเวียนแตกต่างกันอย่างไร พร้อมทั้งยกตัวอย่าง ตอบ 14) พลังงานทดแทนคืออะไร พร้อมทั้งยกตัวอย่าง ตอบ 15) การใช้พลังงานอย่างยั่งยืนควรทำอย่างไร ตอบ แบบทดสอบหลังเรียน รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 คะแนน เรื่อง แหล่งพลังงาน (Source of mergy) ชื่อ-สกุล ชั้น เลขที่ 1) ข้อใดไม่จัดเป็นพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป (Non-renewable energy) ก. หินน้ำมัน ข. ถ่านหิน ค. พลังงานชีวมวล ง. ปิโตรเลียม 2) ข้อใดคือถ่านหินที่ให้ความร้อนสูงที่สุด ก. พีท ข. ลิกไนต์ ค. บิทูมินัส ง. แอนทราไซด์ 3) ข้อใดคือถ่านหินที่มีปริมาณคาร์บอนสูงที่สุด และถ่านหินที่ยังพบซากพืชปนอยู่ ตามลำดับ ข. บิทูมินัส และพีท ง. ซับบิทูมินัส และ แอนทราไซด์ ก. พีท และ แอนทราไซด์ ค. แอนทราไซด์ และ พีท 4) สารประกอบขนิดใดที่สามารถเปลี่ยนเป็นน้ำมันได้เมื่อเพิ่มอุณหภูมิ ก. เคอโรติน ข. เคอโรเจน ค. กลีเซอรอล 5) ข้อใดคือปัจจัยที่ทำให้ซากพืชและสัตว์แปรสภาพเป็นปิโตรเลียม ง. เบนซีน ก. อุณหภูมิ ค. ระยะเวลาที่เหมาะสม ข. ความดัน ง. ถูกทุกข้อ 6) ปิโตรเลียมประกอบด้วยสิ่งใด ก. น้ำมันดิบ ถ่านหิน ข. แก๊สธรรมชาติ แก๊สโซฮอล์ ง. น้ำมันดิบ แก๊สธรรมชาติ ค. แก๊สธรรมชาติ หินน้ำมัน 7) ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นน้ำมันดิบ สารในข้อใดมีจุดเดือดต่ำที่สุด และน่าจะเป็นยางมะตอย(บิทูเมน) ตามลำดับ หอกลั่น ก. สาร A และ C ข. สาร A และ D น้ำมันดั, ศ. สาร C และ B ง. สาร D และ A HEAT 8) ปฏิกิริยาการเผาไหม้สมบูรณ์ของเชื้อเพลิงปิโตรเลียมให้แก๊สชนิดใดมากที่สุด ข. แก๊สในโตรเจน ก. แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ ค. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ง. แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ 9) ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับพลังงานทดแทน ก. ใช้ทดแทนพลังงานเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ ค. ช่วยลดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม ข. เป็นพลังงานที่มีอยู่ในธรรมขาติ ง. พลังงานทดแทนมีต้นทุนต่ำ ราคาถูก 10) ประเทศไทยมีการใช้แหล่งพลังงานชนิดใดมากที่สุด ก. ถ่านหิน ข. ปิโตรเลียม ค. พลังงานแสง ง. พลังงานชีวมวล

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

เขียนบันทึกผลกับสรุปผลให้หน่อยค่ะ

กิจกรรมที่ 6.5 ปัจจัยที่มีผลต่อความชื้นสัมพัทธ์มีอะไรบ้าง จุดประสงค์ วัดความขึ้นสัมพัทธ์และอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อความชื้นสัมพัทธ์ วัสดุและอุปกรณ์ ไซครอมิเตอร์ วิธีการดำเนินกิจกรรม 1. อ่านข้อมูลและอภิปรายวิธีการใช้ไซครอมิเตอร์เพื่อวัดความชื้นสัมพัทธ์ ในหัวข้อเกร็ดความรู้ 2. วางแผนร่วมกันทั้งห้องเพื่อเลือกสถานที่ภายในโรงเรียนในการวัดความชื้นสัมพัทธ์ และอุณหภูมิอากาศ ให้แต่ละกลุ่ม, เลือกสถานที่ไม่ซ้ำกัน และกำหนดเวลาเดียวกันในการวัด โดยวัดไม่น้อยกว่า 5 ครั้งในรอบวัน เช่น เวลาก่อนเข้าเรียน เวลาพัก และหลังเข้าเรียน พร้อมทั้งออกแบบวิธีการบันทึกผลที่สังเกตได้ 3. สังเกตลักษณะทางกายภาพของสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ที่เลือก ตรวจวัดความซื้นสัมพัทธ์และอุณหภูมิอากาศตามที่ได้วางแผนไว้ และบันทึกผล 4. นำข้อมูลที่ตรวจวัดได้มาสร้างกราฟเส้นแสดงการเปลี่ยนแปลงความชื้นสัมพัทธ์ และอุณหภูมิอากาศในเวลาต่าง ๆ และ นำเสนอ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ใครรู้บ้างงับพี่ๆเพื่อนๆ🤞😥

คะแนน แบบทดสอบหลังเรียน รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง แหล่งพลังงาน (Source.of.energu) ชั้น เลขที่ ชื่อ-สกุล 1) ข้อใดไม่จัดเป็นพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป (Non-renewable energy) ก. หินน้ำมัน ข. ถ่านหิน ค. พลังงานชีวมวล ง. ปิโตรเลียม 2) ข้อใดคือถ่านหินที่ให้ความร้อนสูงที่สุด ก. พี่ทุ ค. บิทูมินัส 3) ข้อใดคือถ่านหินที่มีปริมาณคาร์บอนสงที่สุด และถ่านหินที่ยังพบซากพืชปนอยู่ ตามลำดับ ข. ลิกไนต์ ง. แอนทราไซด์ ก. พีท และ แอนทราไซด์ ข. บิทูมินัส และพีท ง. ขับบิทูมินัส และ แอนทราไซด์ ค. แอนทราไซด์ และ พีท 4) สารประกอบชนิดใดที่สามารถเปลี่ยนเป็นน้ำมันได้เมื่อเพิ่มอุณหภูมิ ก. เคอโรติน ข. เคอโรเจน ค. กลีเซอรอล ง. เบนซีน 5) ข้อใดคือปัจจัยที่ทำให้ซากพืชและสัตว์แปรสภาพเป็นปิโตรเลียม ก. อุณหภูมิ ข. ความดัน ค. ระยะเวลาที่เหมาะสม ง. ถูกทุกข้อ 6) ปิโตรเลียมประกอบด้วยสิ่งใด ก. น้ำมันดิบ ถ่านหิน ข. แก๊สธรรมชาติ แก๊สโซฮอล์ ง. น้ำมันดิบ แก๊สธรรมชาติ ค, แก๊สธรรมชาติ หินน้ำมัน 7) ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นน้ำมันดิบ สารในข้อใดมีจุดเดือดต่ำที่สุด และน่าจะเป็นยางมะตอย(บิทูเมน) ตามลำดับ หอกลัน A ก. สาร A และ C ข. สาร A และ D น้ำมันดิบ C ค. สาร C และ B ง, สาร D และ A HEAT 8) ปฏิกิริยาการเผาไหม้สมบูรณ์ของเชื้อเพลิงปิโตรเลียมให้แก๊สชนิดใดมากที่สุด ก. แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ ข. แก๊สในโตรเจน ค. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ง. แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ -) ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับพลังงานทดแทน ก. ใช้ทดแทนพลังงานเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ ข. เป็นพลังงานที่มีอยู่ในธรรมชาติ ง. พลังงานทดแทนมีต้นทุนต่ำ ราคาถูก ค. ช่วยลดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม 2) ประเทศไทยมีการใช้แหล่งพลังงานชนิดใดมากที่สุด ก. ถ่านหิน ข. ปิโตรเลียม ค. พลังงานแสง ง. พลังงานชีวมวล

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/7