ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยนะคะ🙏🏻🙏🏻

1. ให้นักเรียนตอบ ถูก หน้าข้อความที่ถูกต้อง และ ตอบ ผิด หน้าข้อความที่ไม่ถูกต้อง 1. น้ำเลือดจะทำหน้าที่ลำเลียงสารอาหารที่ย่อยแล้วไปยังเซลล์ต่างๆทั่วร่างกาย 2. เซลล์เม็ดเลือดแดงมีขนาดใหญ่กว่าเซลล์เม็ดเลือดขาวแต่มีจำนวนน้อยกว่า 3. เซลล์เม็ดเลือดขาวลำเลียงแก๊สออกซิเจนไปยังส่วนต่างๆของร่างกาย 4. เซลล์เม็ดเลือดแดงของมนุษย์ไม่มีนิวเคลียส 5. เซลล์เม็ดเลือดแดงต่อสู้ทำลายเชื้อโรค 16. เฮโมโกลบิน ทำหน้าที่ลำเลียงแก๊สออกซิเจน พบในเซลล์เม็ดเลือดแดง 17. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และแก๊สออกซิเจนจะถูกลำเลียงโดยละลายในน้ำเลือดแล้วถูก ลำเลียงไปตามหลอดเลือด 8. เกล็ดเลือดมีหน้าที่ป้องกันไม่ให้เลือดแข็งตัว 19. ช่องทางนำอากาศเข้าสู่ร่างกาย มีอยู่ทางเดียว คือ จมูก 10. ระบบทางเดินหายใจแก๊สออกซิเจนจะถูกเปลี่ยนที่ปอด โดยกระบวนการแพร่ 11. การหายใจเข้า กะบังลมจะเคลื่อนที่ต่ำลงปริมาตรช่องอกเพิ่มขึ้น 12. สิ่งที่กำหนดอัตราการหายใจเข้า - ออก คือ ปริมาณแก๊สออกซิเจน 13. หายใจเข้าเต็มที่จะมีอากาศเข้าไปยังปอดเพิ่มมากจนอาจถึง 6,000 cm |14. ปอดได้รับแก๊สออกซิเจนโดยวิธีการแพร่ 15. การแลกเปลี่ยนแก๊สเกิดขึ้น 2 แห่ง คือ ที่หัวใจ และ ปอด 2. ให้นักเรียนเติมคำที่เกี่ยวข้องกับระบบหมุนเวียดเลือดให้ถูกต้อง ระบบหมุนเวียนเลือด ห้องบน เวน เซลล์เม็ดเลือดแดง

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยทำหน่อยนะคะ🤍💛

แบบทดสอบท้ายเล่ม เลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว 4 สถานการณ์ใดต่อไปนี้ทำให้เกิดกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางเคมี 1. น้ำมันแยกตัวกับน้ำ 2. ท่อเหล็กระบายน้ำฝน 3. ภูเขาน้ำแข็งลอยในน้ำทะเล 4. ก้อนลูกเหม็นมีขนาดเล็กลง 2. ข้อใดคือสมบัติทางกายภาพและสมบัติทางเคมีของน้ำส้ม ตามลำดับ 1. นำไฟฟ้า นำความร้อน 2. นำไฟฟ้า มีฤทธิ์เป็นกรด 3. ของเหลว มีรสเปรี้ยว 4. ของเหลว ติดไฟง่าย 3. ข้อใดเป็นการจัดเรียงอนุภาคของแก๊ส 1. อนุภาคอยู่ห่างกัน 3. อนุภาคอยู่ติดกัน 2. อนุภาคอยู่ชิดกัน 4. อนุภาคอยู่ใกล้กัน ปรากฏการณ์ทินดอลล์ใช้แยกสารผสมในข้อใดออกจากกันได้ 1. น้ำคลอง และน้ำแป้ง 3. น้ำเกลือ และน้ำเชื่อม 5. อนุภาคของน้ำแป้งมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเท่าไร 1. 10-10 เซนติเมตร 2. น้ำปลา และน้ำตาล 4. น้ำเกลือ และน้ำนม 2. มากกว่า 10 เซนติเมตร ห์ 3. มากกว่า 10 เซนติเมตร 4. น้อยกว่า 10 เซนติเมตร 6. ขณะที่มวลก้อนน้ำแข็งกำลังละลายมีสิ่งใดที่เปลี่ยนแปลง 1. มวลโมเลกุล 3. น้ำหนักโมเลกุล 2. ขนาดโมเลกุล 4. การเคลื่อนที่ของโมเลกุล 7. ข้อใดไม่ใช่ผลของความร้อนที่ส่งผลต่อสถานะของสาร 2. การแข็งตัว 1. การละลาย 4. การระเหย 3. การระเหิด ข้อใดมีอุณหภูมิเดียวกับจุดเดือดของน้ำ 1. เมฆกลั่นตัวเป็นฝน 8. 2. ลูกเห็บที่ตกจากฟ้า 4. หิมะละลายกลายเป็นธารน้ำ 3. น้ำระเหยกลายเป็นเมฆ แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.1

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

พี่ๆ เพื่อนๆ คนไหนรู้คำตอบมั้งคะ ภาพเเรก# เรื่องส่วนประกอบและหน้าที่ของระบบประสาท ภาพที่2 # เรื่อง การทำงานของระบบหมุนเวียนเลือด ภาพที่3... อ่านต่อ

เรื่อง ส่วนประกอบและหน้าที่ของระบบประสาท ระบบประสาท ทำหน้าที่ 2. องค์ประกอบของระบบประสาทมีอะไรบ้าง 1 เซลล์ประสาท 3. เซลล์ประสาทมี ขนิด เทำหน้าที่ 3.1 3.2. เทำหน้าที่ 3.3. เทำหน้าที่ 4. สมองส่วนซีรีบรัม ทำหน้าที่เกี่ยวกับ 5. สมองส่วนซีรีเบลลัม ทำหน้าที่เกี่ยวกับ 6. สมองส่วนก้านสมอง ทำหน้าที่เกี่ยวกับ 7. ไขสันหลัง ทำหน้าที่ 8. ปฏิกิริยารีเฟล็กซ์ คือ 9. เมื่อสัมผัสของร้อนแล้วเราดึงมือกลับทันทีเป็นปฏิกิริยารีเฟล็กซ์หรือไม่เพราะเหตุใด ตอบ. 10. ปฏิกิริยารีเฟล็กซ์มีประโยชน์ค่อมนุษย์อย่างไร ตอบ.. 11. นักเรียนมีวิธีในการดูแลระบบประสาทได้อย่างไร ตอบ. ((((()

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยทำหน่อยค่ะ พี่ๆ น้องๆ เพื่อนๆ คนไหนรู้คำตอบมั้งคะ😊

เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะในระบบหายใจ เรียงลำดับชื่อส่วนของร่างกาย ในการผ่านของอากาศในการหายใจเข้า รูจมูก โพรงจมูก ห่อลม ถุงลม หลอดลม ๒๕๕ - 4. - กิจกรรม การหายใจเข้าและการหายใจออกเกิดขึ้นได้อย่างไร สังเกตและอธิบายกลไกการหายใจเข้า และการหายใจออกโดยใช้แบบจำลอง การทำงานของปอด สิ่งที่ค้นพบจากกิจกรรม เมื่อดึงแผ่นยางลง ลูกโป่งจะ 1 เนื่องจาก 2. เมื่อดันแผ่นยางลง ลูกโป่งจะ เนื่องจาก ขณะหายใจเข้า ขณะหายใจออก 1. กระบังลมจะ 1. กระบังลมจะ 2. กระดูกซี่โครงจะ 3. ปริมาตรช่องอกจะ 2. กระดูกซี่โครงจะ 3. ปริมาตรช่องอกจะ 4. ความดันในช่องอกจะ 4. ความดันในช่องอกจะ กระบวนการแลกเปลี่ยนแก๊ส 1. การแลกเปลี่ยนแก๊สเกิดที่บริเวณใดของร่างกายบ้าง ตอบ.

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่ะ😩 ขอบคุณล่วงหน้าค่ะ🙏

13. เลือดของคนเราประกอบด้วยอะไรบ้าง (วิเคราะห์หลักการ) ก. น้ำเลือด ฮีโมโกลบิน เกล็ดเลือด ข. น้ำเลือด เม็ดเลือดขาว เม็ดเลือดดำ เกล็ดเลือด ค. น้ำเลือด ฮีโมโกลบิน เม็ดเลือดขาว เม็ดเลือดแดง ง. น้ำเลือด เม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว เกล็ดเลือด 14. การจับชีพจร เป็นการตรวจสอบการทำงานของระบบอวัยวะใด (วิเคราะห์หลักการ) ก. ระบบหัวใจ ข. ระบบขับถ่าย ค. ระบบยอยอาหาร ง. ระบบหมุนเวียนโลหิต 15. ขณะหายใจเข้ามีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นตามข้อใด คร ก. ปริมาตรของช่องอกมีมากขึ้น ข. ปริมาตรของช่องอกน้อยลง ค. ปริมาตรของช่องอกนอยลง ความ วามดันอากาศต่ำลง ง. 16. ในขณะที่หายใจเข้า รงและกะบังลมจะทำงานอย่างไร (วิเคราะห์หลักการ) อกหดตัว กล้ามเนื้อแถบใน คลายตัว กระบังลมหดตัว ข. กล้ามเนื้อแถบนอกหดตัว กล้ามเนื้อแถบใน คลายตัว กระบังลมคลายตัว ก. กล ค. กล้ามเนื้อแถบนอกคลายตัว กล้ามเนื้อแถบใน หดตัว กระบังลมคลายตัว ง. กล้ามเนื้อแถบนอกคลายตัว กล้ามเนื้อแถบใน หดตัว กระบังลมหดตัว 17. การหายใจถูกควบคุมโดยอวัยวะใด (วิเคราะห์หลักการ) ก. จมูก ข. หลอดลม ค. ปอด ง. กระบังลม 18. ข้อใดจัดเป็นของเสียที่ร่างกายจำเป็นต้องกำจัดทิ้ง (วิเคราะห์ความสำคัญ) ก. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ข. ยูเรีย ค. เกลือแรส่วนเกิน ง. ถูกต้องทุกข้อ

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
1/4