ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหาคำตอบให้หน่อยค่ะต้องการคำตอบด่วนด่วน

6. โครโมโซมในเซลล์ไข่ของเพศหญิงที่เป็นโรคในกลุ่มอาการดาวน์คือ 7. จงเขียนรูปร่างของโครโมโซมคู่ที่ผิดปกติของผู้ป่วยที่มีลักษณะเสียงแหลมเล็ก คล้ายแมวร้อง ซึ่งเป็นโครโมโซมคู่ที่ . 8. ผู้ป่วยที่มีลักษณะต่อไปนี้เป็นความผิดปกตที่เกิดกับโครโมโซมชนิดใด 6.1 ลักษณะตัวเตี้ย ที่คอมีพังผืดกางเป็นปีก เป็นหมัน.. 6.2 ปากแหว่ง เพดานโหว่ ปัญญาอ่อน อย่างรุนแรง อายุสั้นมาก 6.3 เพศชายมีสะโพกผาย หน้าอกโต ลูกอัณฑะมีขนาดเล็ก เป็นหมัน 9. โครโมโซมคู่ที่ 13 เกินมา 1 แท่ง เป็นความผิดปกติที่พบในผู้ป่วยที่อยู่ในกลุ่มอาการ มีลักษณะที่ปรากฏคือ 10. โครโมโซมคู่ที่ 18 เกินมา 1 แท่ง เป็นความผิดปกติที่พบในผู้ป่วยที่อยู่ในกลุ่มอาการ... มีลักษณะที่ปรากฏคือ... 11. ศึกษาลักษณะหน้าตาและนับจำนวนออโตโซมกับโครโมโซมเพศของเด็กทารกคนที่ 1 และเด็กทารกคนที่ 2 แล้วบันทึกผลลงในตาราง >> { } {{ 2{ NEWS TONINE XJos (2576) XY เด็กทารกคนที่ 1 ?? เด็กทารกคนที่ 2 21 ลักษณะที่สังเกตได้ จำนวนโครโมโซม (แท่ง) โครโมโซมที่แตกต่าง เด็กทารก คนที่ ศีรษะ ส่วนต่าง ๆ บนใบหน้า ออโตโซม โครโมโซมเพศ คู่ที่ 1 จำนวนโครโมโซม 1 2 11.1 ลักษณะของเด็กทารกคนที่ 2 แตกต่างจากลักษณะของเด็กทารกคนที่ 1 คืออะไร 11.2 จำนวนโครโมโซมทั้งหมดของเด็กทารกคนที่ 1 และ 2 มีเท่ากับกี่แท่ง ตามลำดับ 11.3 เด็กทารกทั้งสองคนเป็นเพศใด ทราบได้อย่างไร 11.4 เด็กทารกคนใดมีจำนวนโครโมโซมผิดปกติ และจำนวนโครโมโซมที่ผิดปกติเป็นโครโมโซมคู่ที่เท่าไร 11.5 จากข้อที่ 11.4 เด็กทารกคนดังกล่าวเป็นโรคใด และมีอาการอย่างไร

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

วิชาฟิสิกส์ มีใครพอทำได้มั่ยคะช่วยทีคะ อธิบายด้วยยิ่งดีเลยคะ ขอบคุณล่วงหน้านะคะ

ใบงานที่ 3 เรื่อง โมเมนต์ของแรง ...................... คําชี้แจง : ให้นักเรียนแสดงวิธีทำให้ถูกต้อง ..ชั้น ม.../............... 2. เด็กชายมีน้ำหนัก 600 N เล่นกระดานหกดังภาพ ถ้าต้องการให้กระดานหกสมดุล เด็กชายควรชวนเพื่อนที่หนักเท่าใด ? มาเล่นด้วย กำหนดให้เพื่อนนั่งห่างจากจุดหมุน 1.2 เมตร และเด็กชายนั่งห่างจากจุดหมุน 1 เมตร 1.2 m 1 m 600 N 3. แขวนน้ำหนัก 40 นิวตัน ห่างจากจุดหมุนทางด้านซ้ายของไม้เมตรเป็นระยะ 30 เซนติเมตร หากต้องการให้ไม้เมตรนี้ สมดุล จะต้องแขวนน้ำหนัก 25 นิวตัน ไว้ทาง ด้านขวาห่างจากจุดหมุนกี่เซนติเมตร 40 N 30 cm 25 N

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยย่อหน่อยนะครับ

วิทยาศาสตร์ Science H. นิตยส -ใช้โทน ทาไงหลายต้ แวคิวโอล เยื่อหุ้มเซลล์ หนัง - เซลล์พืช เซลล์สัตว์ เซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีส่วนประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน คือ 1. ส่วนห่อหุ้มเซลล์ ได้แก่ เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell membrane) และผนังเซลล์ (Cell wall) ซีล เฉพาะในเซลล์พืช 2. ไซโทพลาซึม (Cytoplasm) 1. ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์ ประกอบด้วย 1) เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell membrane) เซลล์ของ สิ่งมีชีวิตทุกชนิดจะมีเยื่อหุ้มเซลล์หุ้มอยู่ภายนอก มีลักษณะ เป็นเยื่อบาง ๆ เหนียว ประกอบด้วยสารประเภทลิขิตและ โปรตีน เยื่อหุ้มเซลล์มีรูเล็ก ๆ สามารถจำกัดขนาดของสารที่ ผ่านเข้าออกได้ จึงมีสมบัติเป็น เยื่อเลือกผ่าน (Semipermeable membrane) ซึ่งสารขนาดเล็กผ่านได้ส่วนสารขนาดใหญ่ผ่านไม่ได้ 3. นิวเคลียส (Nucleus) เยื่อหุ้มเซลล์ หน้าที่ 1. ควบคุมปริมาณและชนิดของสารบางอย่างที่ผ่านเข้าออกจากเซลล์ เช่น น้ำ และสารละลายต่าง ๆ 2. แสดงขอบเขตของเซลล์และห่อหุ้มส่วนประกอบในเซลล์ 2) ผนังเซลล์ (Cell wall) มีเฉพาะในเซลล์พืช เป็นโครงสร้างที่อยู่ชั้นนอกสุดห่อหุ้มเยื่อหุ้มเซลล์อีกชั้นหนึ่ง เป็นผนังแข็งแรง ซึ่งส่วนใหญ่สร้างจากสารเซลลูโลส (Cellulose) เป็นส่วนที่ไม่มีชีวิต ทำให้เซลล์ทนทาน แข็งแรง แม้ว่าเซลล์ อาจตายไปแล้วก็ตาม และเป็นเนื้อเยื่อที่ยอมให้สารต่าง ๆ ผ่านเข้าและออกจากเซลล์ได้ หน้าที่ ทำให้เซลล์พืชแข็งแรงคงรูปและป้องกัน อันตรายให้กับเซลล์พืช อาหาร อากา 0 ผนังเซลล์ที่พบในคอร์กเซลล์ ซึ่งเป็นเซลล์ที่ไม่มีชีวิต 2. ไซโทพลาซึม (Cytoplasm) เป็นส่วนที่อยู่ภายในเซลล์ทั้งหมดยกเว้นนิวเคลียส มีลักษณะกึ่งเหลว ส่วนใหญ่เป็นน้ำและมีสารที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต เช่น น้ำตาล กรดอะมิโน โปรตีน ไขมัน และของเสียต่าง ๆ จากกิจกรรมของเซลล์ละลายและแขวนลอยอยู่ ภายในไซโทพลาซึมมีโครงสร้างเล็ก ๆ ที่เรียกว่า ออร์แกเนลล์ (Organelle) กระจายอยู่ทั่วไป มีหลายชนิดและแต่ละชนิดมีรูปร่าง ลักษณะ และหน้าที่แตกต่างกันในกระบวนการ ดำรงชีวิตของเซลล์ ศ บ

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่ะไม่เข้าใจ

A ร กิจกรรม ผลของอุณหภูมิ ตสภาพละสายไม้ของสาร จุดประสงค์ - เพื่อทดสอบผลการละลายของสารที่อุณหภูมิต่าง ๆ วัสดุอุปกรณ์ 1. บีกเกอร์ขนาด 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร จำนวน 3 ใบ 2. ตะเกียงแอลกอฮอล์พร้อมที่กันลม 3. สารเคมีต่าง ๆ ได้แก่ น้ำกลั่น เอทิลแอลกอฮอล์ เกลือ น้ำตาลทราย และคอปเปอร์ (II) ซัลเฟต ปฏิบั 4. กระบอกตวง 5. แท่งแก้วคนสาร 6. น้ำแข็ง - - การจาแนกประ - การกำหนดและควบคุมตัวแบ - การลดความเห็นจากข้อมูล จิตวิทยาศาสตร์ - ความสนใจ ความมีเหตุผล ช้าสวร 1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-7 คน ออกแบบการทดลองเกี่ยวกับผลของอุณหภูมิต่อสภาพละลายได้ของสาร โดยใช้วัส อุปกรณ์ และสารเคมีที่กำหนดให้ โดยแผนการทดลองมีองค์ประกอบ ดังนี้ - ปัญหา - สมมติฐาน - ตัวแปรต้นและตัวแปรตาม - สารเคมีและอุปกรณ์ที่ใช้ - วิธีการทดลอง - ตารางบันทึกผล 2. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอแผนการทดลองที่ร่วมกันออกแบบไว้ แล้วร่วมกันอภิปรายเพื่อตรวจสอบความถูกต้อ แผนการทดลอง และปรับปรุงแผนการทดลองให้ถูกต้องเหมาะสม 3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทำการทดลองตามที่ออกแบบไว้ 4. ให้นักเรียนและกลุ่มนำเสนอผลการทดลอง คำถามท้ายกิจกรรม 1. นักเรียนเลือกสารใดเป็นตัวทำละลายและตัวละลาย เพราะเหตุใด - เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้นหรือลดลง การละลายของตัวละลายในตัวทำละลายเหมือนหรือแตกต่างกัน อย่างไร อุณหภูมิมีผลต่อสภาพละลายได้ของสารหรือไม่ อย่างไร อภิปรายผลกิจกรรม จากกิจกรรม พบว่า อุณหภูมิมีผลต่อสภาพละลายได้ของสาร ซึ่งเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น ตัวละลายจะละลายในตัวท ขึ้น แต่เมื่ออุณหภูมิลดลง ตัวละลายจะละลายในตัวทำละลายได้น้อยลง

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยครับไม่เข้าใจเรื่องนี้เลย

19) ใช้น้ำเย็น 200 กรัม อุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียส ผสมกับน้ำร้อน 90 องศาเซลเซียส แล้วได้น้ำอุณหภูมิผสม เท่ากับ 50 องศาเซลเซียส จงหามวลของน้ำร้อนที่ใช้ในการผสมครั้งนี้ กำหนดให้ C = 1 cals °C) ตอบ 20) ใช้น้ำแข็ง 25 กรัม อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส ผสมกับน้ำมวล 50 กรัม อุณหภูมิ 75 องศาเซลเซียส จงหา อุณหภูมิผสมของน้ำ (กำหนดให้ น้ำแข็ง = 0.5 cal/g °C, C = 1 calg °C, หลอมของน้ำ = 80 cals) ตอบ 21) การถ่ายโอนความร้อน หมายถึง ตอบ 22) การนําความร้อนเกิดขึ้นได้อย่างไร พร้อมทั้งยกตัวอย่าง ตอบ 23) การพาความร้อนเกิดขึ้นได้อย่างไร พร้อมทั้งยกตัวอย่าง ตอบ 24) การแผ่รังสีความร้อนเกิดขึ้นได้อย่างไร พร้อมทั้งยกตัวอย่าง ตอบ 25) เมื่อเกิดเหตุการณ์ไฟไหม้ในอาคาร เพราะเหตุใดผู้ประสบภัยจึงต้องหมอบและคลานต่ำถึงจะปลอดภัย ตอบ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยได้ไหมคะ🙏🏻🙏🏻🙏🏻

9. คำถามทบทวน ลักษณะทางกายภาพของคลื่น • สันคลื่นและท้องคลื่นอยู่ตำแหน่งใด คำตอบ • คลื่นที่เกิดขึ้นมีแอมพลิจูดและความยาวคลื่นเป็นเท่าใด คำตอบ 10. แอมพลิจูดของคลื่น จะขึ้นอยู่กับพลังงานที่ใช้ในการรบกวนตัวกลาง - ถ้ารบกวนตัวกลางของคลื่นด้วยพลังงานน้อย คลื่นจะมี - และ ถ้ารบกวนตัวกลางของคลื่นด้วยพลังงานมาก คลื่นจะมี 11. เพราะเหตุใดคลื่นสึนามิที่มีแอมพลิจูดสูง จึงสามารถทำความเสียหายให้กับชีวิตและทรัพย์สินริมชายฝั่งทะเลได้มาก คําตอบ 12. ความถี่คลื่น (1) คือ จำนวนรอบที่ตัวกลาง มีหน่วยเป็น - ความถี่น้อย ลูกคลื่นน้อย คลื่นมีความถี่ - ความถี่มาก ลูกคลื่นมาก คลื่นมีความถี่ 13. นักเรียนใช้ดินสอแตะผิวหน้าของน้ำที่จุด A แล้วสังเกตพบว่าเกิดคลื่น . เคลื่อนที่จากจุด A ไป B และพบว่าเม็ดโฟมที่อยู่บน ผิวน้ำเคลื่อนที่ขึ้น ลงในแนวดิ่ง ดังภาพ คำตอบ คลื่นสปริงนี้มีความเป็น หรือ ภาพตัดขวางผิวหน้าของน้ำ โจทย์ถามว่า ถ้าพบว่า ในเวลา 5 วินาที เม็ดโฟมเคลื่อนที่ขึ้นลงครบ 8 รอบพอดี คลื่นดังกล่าวมีความถี่เท่าใด คำตอบ คลื่นน้ำที่มีความเป็น 14. โจทย์ถามว่า ถ้านักเรียนสะบัดสปริงอย่างต่อเนื่องให้เกิดคลื่นตามขวาง เมื่อเวลาผ่านไป 2 วินาที สังเกตคลื่นในสปริงที่เกิดขึ้นได้เป็นดังภาพ คลื่นดังกล่าวมีความถี่เท่าใด เรื่องที่ 2 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 15. ลักษณะคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ความยาวคลื่น ความยาวคลื่น.. ตอบ ในการเคลื่อนที่ ระยะในแนวดิ่ง (cm) - เป็นคลื่นที่.. - จะอาศัยการเหนี่ยวนำ - เคลื่อนที่ในสุญญากาศด้วยอัตราเร็ว ๆ - คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแบ่งออกเป็นช่วงความถี่ต่าง ๆ เรียกว่า 16. แต่ละช่วงความถี่มีชื่อเรียกต่างกัน ได้แก่ 17. การใช้ประโยชน์จากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คือ 18. การเกิดโทษต่อมนุษย์จากการใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คือ 19. คำถามทบทวน คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า - ความถี่ ความยาวคลื่น และพลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีความสัมพันธ์กันอย่างไร ตอบ แต่จะเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว เสียงที่ได้ยินจากเครื่องรับวิทยุเป็นคลื่นกลหรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เพราะเหตุใด B ระยะในแนวระดับ (cm) เพื่อส่งผ่านพลังงานที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง ในตัวกลางอื่น CoXXI

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/54