ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยนะคะ ขอบคุณค่ะ🙏🙏

คาชีแจง จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว แล้วทำเครื่องหมายกากบาท (X) ลงในกระดาษคำตอบ 1. ถ้าต้องการวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าควรใช้เครื่องมือชนิดใดและต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้าอย่างไร 1. แอมมิเตอร์ต่อแบบขนานกับวงจร 2. โวลต์มิเตอร์ต่อแบบขนานกับวงจร 3. แอมมิเตอร์ต่อแบบอนุกรมกับวงจร 4. โวลต์มิเตอร์ต่อแบบอนุกรมกับวงจร 2. ถ้าต้องการวัดปริมาณกระแสไฟฟ้าควรใช้เครื่องมือชนิดใดและต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้าอย่างไร 1. แอมมิเตอร์ต่อแบบขนานกับวงจร 2. โวลต์มิเตอร์ต่อแบบขนานกับวงจร 3. แอมมิเตอร์ต่อแบบอนุกรมกับวงจร 4. โวลต์มิเตอร์ต่อแบบอนุกรมกับวงจร 3. ข้อใดแสดงถึงกฎของโอห์ม 1. ความต้านทานแปรผันตรงกับชนิดของสาร 2. กำลังไฟฟ้าเป็นอัตราส่วนของพลังงานที่ใช้กับเวลา 3. ความจุไฟฟ้า คือ อัตราส่วนของประจุไฟฟ้ากับความต่างศักย์ 4. ความต่างศักย์เท่ากับผลคูณของกระแสไฟฟ้ากับความต้านทาน 4. กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้ากับกระแสไฟฟ้าดังรูปหากต้องการหาความต้านทานจะต้องทำ อย่างไร ความต่างศักย์ V) กระแสไฟฟ้า (A) 1. ใช้พื้นที่ใต้กราฟ 2. ใช้จุดตัดบนแกน X 3. ใช้จุดตัดบนแกน Y 4. ใช้ความซันของกราฟ 5. ถ้าต่อตัวต้านทานที่มีค่าความต้านทาน 36 โอห์ม เข้ากับความต่างศักย์ 12 โวลต์ ตัวต้านทานดังกล่าวจะม กระแสไฟฟ้าไหลผ่านกี่แอมแปร์ 1. 0.03 แอมแปร์ 2. 0.33 แอมแปร์ 3. 3.33 แอมแปร์ 4 33.3 แอมแปร์

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยบอกคำตอบหน่อยค่าา มีทั้งหมด26ข้อนะคะช่วยหน่อยค่ะTT ไม่รู้เรื่องนี้เลยคั้บบ

แบบทดสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 รายวิชาวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว23102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 1. หลอดไฟให้แสงสว่างได้อย่างไร ก. กระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดทำให้เกิดความร้อนและ 7. เซลล์สุริยะเปลี่ยนพลังงานจากรูปใดเป็นรูปใด ก. พลังงงานเคมีเป็นพลังงานแสง ข. พลังงงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเคมี ค. พลังงงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงานกล ง. พลังงงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงานไฟฟ้า ความสว่าง ข. กระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดขนาดใหญ่ทำให้เกิดความ ร้อนและความสว่าง ค. กระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดความต้านทานต่ำทำให้ เกิดความร้อนและความสว่าง ง. กระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดความต้านทานสูงทำให้ 8. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับกำลังไฟฟ้าของ เครื่องใช้ไฟฟ้า ก. พลังงานไฟฟ้าที่เปลี่ยนเป็นพลังงานแสง ข. พลังงานไฟฟ้าที่ถูกใช้ไปในเวลา 1 วินาที ค. พลังงานไฟฟ้าที่สิ้นเปลืองไปในการทำงาน เกิดความร้อนและความสว่าง 2. ข้อใดแสดงทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้าได้ถูกต้อง ก. กระแสไฟฟ้าไหลจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำ ข. กระแสไฟฟ้าไหลจากขั้วลบไปยังขั้วบวก ค. กระแสไฟฟ้าไหลจากแรงดันต่ำไปยังแรงดันสูง ง. กระแสไฟฟ้าไหลจากบริเวณศักย์ไฟฟ้าสูงไปยังบริเวณ ศักย์ไฟฟ้าต่ำ ง. พลังงานที่สูญเปล่าในการใช้พลังงานไฟฟ้า 9. หม้อหุงข้าวไฟฟ้าใบหนึ่งมีตัวเลขเขียนกำกับไว้ ด้านข้างว่า 1,200 วัตต์ 220 โวลต์ ถ้านำหม้อ หุงข้าวไฟฟ้าไปเสียบกับเต้ารับจะมีกระแสไฟฟ้าไหล ผ่านกี่แอมแปร์ 3. ข้อใดคืออุปกรณ์ที่วัดความต่างศักย์ในวงจรไฟฟ้า ข. โวลต์มิเตอร์ ก. 3.45 แอมแปร์ ข. 5.45 แอมแปร์ ก. แอมมิเตอร์ ค. โอห์มมิเตอร์ ค. 7.54 แอมแปร์ 10. การวัดปริมาณการใช้ไฟฟ้าตามครัวเรือน นิยมใช้ ง. 9.54 แอมแปร์ ง. บารอมิเตอร์ 4. ข้อใดกล่าวถึงกฎของโอห์มได้ถูกต้อง ก. กระแสไฟฟ้าจะแปรผกผันกับความต่างศักย์ไฟฟ้า หน่วยยูนิต ข้อใดต่อไปนี้คือความหมายของยูนิต ก. จูนต่อวินาที (J/s) ข. วัตต์ต่อวินาที (W/s) ข. กระแสไฟฟ้าจะแปรผกผันกับความต้านทานไฟฟ้า ค. กระแสไฟฟ้าจะแปรผันตรงกับความต่างศักย์ไฟฟ้า ง. กระแสไฟฟ้าจะแปรผันตรงกับความต้านไฟฟ้า 5. ลวดตัวนำชนิดเดียวกันที่มีความยาวเท่ากัน ลวดตัวนำใน 11.บุคคลใดที่ไม่มีความปลอดภัยในการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า ข้อใดมีความต้านทานมากที่สุด ก. ลวดที่มีพื้นที่หน้าตัด 3 เซนติเมตร ข. ลวดที่มีพื้นที่หน้าตัด 6 เซนติเมตร ค. ลวดที่มีพื้นที่หน้าตัด 9 เซนติเมตร ค. กิโลวัตต์ ชั่วโมง (KW/h) ง. เมกะวัตต์ ชั่วโมง (MW/h) ก. นุ่นถอดปล็๊กเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกครั้งหลังใช้งาน ข. ทิวดึงเต้าเสียบออกโดยจับที่สายไฟ ค. ก็กขาร์จโทรศัพท์จากปลั๊กพ่วงที่ไม่มีอุปกรณ์ใด ง. เอิงยกสะพานไฟก่อนที่จะปิดสวิตช์ไฟฟ้าของ หลอดไฟขณะที่เกิดการลัดวงจร ซี่ 4 น ง. ลวดที่มีพื้นที่หน้าตัด 12 เซนติเมตร 6. การต่อตัวต้านทานเข้าไปในวงจรไฟฟ้าจะทำให้ปริมาณ กระแสไฟฟ้าเป็นอย่างไร 12. หลอดไฟ 80 วัตต์ 220 โวลต์ ถ้าเปิดใช้งานนาน 15 ชั่วโมง จะสิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้ากี่หน่วย ก. ปริมาณลดลง ข. ขึ้นอยู่กับชนิดของตัวต้านทาน ค. ปริมาณเพิ่มขึ้น ก. 0.6 หน่วย ข. 1.2 หน่วย ง. ปริมาณเท่าเดิม ค. 2.4 หน่วย ง. 3.2 หน่วย

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

สอบถามข้อสอบสามหน้านี้ค่ะ พอดีลองคิดแล้วไม่รู้ว่าจะถูกรึป่าว รบกวนช่วยอธิบายให้หน่อยได้ไหมคะ?

วิทยาศาสตร์ ม.ต้น ปรากฏการณ์เกี่ยวกับอากาศในชีวิตประจำวัน 32. หากนำข้อมูลมาเขียนเป็นกราฟจะตรงกับข้อใด 36. ในอากาศแห่งหนึ่งมีปริมาตร 16 ลูกบาศก์เมตร มีมวล 8 กิโลกรัม 1. จะมีความหนาแน่นเท่าไร ความหนาแน่น 1. 1.4 kg/m 2. 0.71 kg/m 3. 0.5 kg/m 4. 2 kg/m - ความสูง 2. ความหนาแน่น 37. อากาศในห้องที่มีขนาดความกว้าง 6 เมตร ยาว 6 เมตร สูง 3 เมตร มีมวลทั้งหมด 150 กิโลกรัม จะมีความหนาแน่นเท่าไร - ความสูง 3. 1. 1.39 kg/m ความหนาแน่น 2. 1.19 kg/m 3. 1.59 kg/m 4. 2.89 kg/m ความสูง 4. ความหนาแน่น 38. อากาศที่ระดับน้ำทะเล 1.3 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร อากาศ 0.01 กิโลกรัม จะมีปริมาตรเท่าไร 1. 0.77 m - ความสูง 2. 0.077 m 3. 0.0077 m 4. 0.00077 m 33. จากข้อมูลในตาราง ที่ความสูง 8 กิโลเมตรจากระดับน้ำทะเลจะมีอากาศอยู่กี่กรัม ในปริมาตร 1 ลูกบาศก์เมตร 1. 0.526 g 2. 5.26 g 39. แรงดันของอากาศจัดเป็นสมบัติเรื่องใดของอากาศ 3. 52.6 g 1. อากาศเป็นของไหล 4. 526 g 2. อากาศต้องการที่อยู่ 3. อากาศเปลี่ยนรูปร่างตามภาชนะ 4. อากาศสัมผัสไต้ ความหนาแน่นของอากาศที่ระดับผิวน้ำทะเลและระดับความสูง 10 กิโลเมตร แตกต่างกันกี่เปอร์เซ็นต์ 40. ผู้ที่ทำการศึกษาเรื่องของบรรยากาศจนสามารถวัดความดันของอากาศได้สำเร็จ คือใคร 1. 50 % 2. 54 % 1. อาคีมิดีส 3. 59 % 2. เซอร์ไอแซก นิวต้น 4. 66 % 3. เทอริเซลลี 4. เจมส์ วัตต์ 35. หากสูบอากาศที่ความสูง 2 กิโลเมตรจากระดับน้ำทะเล ใส่ภาชนะขนาด 2 ลิตร จำนวน 2 ขวด จะมีอากาศอยู่กี่กรัม 1. 4.028 g 41. ความดัน 600 มิลลิเมตรปรอท มีความหมายว่าอย่างไร 2. 2.048 g 1. ความดันที่ทำให้ปรอทในหลอดลดลงไปจากเดิม 600 มิลลิเมตร 2. ความดันที่ทำให้ปรอทในหลอดเพิ่มขึ้นจากระดับเดิม 600 มิลลิเมตร 3. 4.280 g 4. 2.480 g 3. ความดันที่ทำให้ระดับของปรอทในหลอดปลายปิดดันสูงจากระดับอ้างอิงไป 600 มิลลิเมตร 4. 600 มิลลิเมตรปรอท เป็นค่าของความดันอากาศที่ 1 บรรยากาศ Page 397

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

เขียนบันทึกผลกับสรุปผลให้หน่อยค่ะ

กิจกรรมที่ 6.5 ปัจจัยที่มีผลต่อความชื้นสัมพัทธ์มีอะไรบ้าง จุดประสงค์ วัดความขึ้นสัมพัทธ์และอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อความชื้นสัมพัทธ์ วัสดุและอุปกรณ์ ไซครอมิเตอร์ วิธีการดำเนินกิจกรรม 1. อ่านข้อมูลและอภิปรายวิธีการใช้ไซครอมิเตอร์เพื่อวัดความชื้นสัมพัทธ์ ในหัวข้อเกร็ดความรู้ 2. วางแผนร่วมกันทั้งห้องเพื่อเลือกสถานที่ภายในโรงเรียนในการวัดความชื้นสัมพัทธ์ และอุณหภูมิอากาศ ให้แต่ละกลุ่ม, เลือกสถานที่ไม่ซ้ำกัน และกำหนดเวลาเดียวกันในการวัด โดยวัดไม่น้อยกว่า 5 ครั้งในรอบวัน เช่น เวลาก่อนเข้าเรียน เวลาพัก และหลังเข้าเรียน พร้อมทั้งออกแบบวิธีการบันทึกผลที่สังเกตได้ 3. สังเกตลักษณะทางกายภาพของสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ที่เลือก ตรวจวัดความซื้นสัมพัทธ์และอุณหภูมิอากาศตามที่ได้วางแผนไว้ และบันทึกผล 4. นำข้อมูลที่ตรวจวัดได้มาสร้างกราฟเส้นแสดงการเปลี่ยนแปลงความชื้นสัมพัทธ์ และอุณหภูมิอากาศในเวลาต่าง ๆ และ นำเสนอ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

พี่ๆ เพื่อนๆ คนไหนรู้คำตอบมั้งคะ ภาพเเรก# เรื่องส่วนประกอบและหน้าที่ของระบบประสาท ภาพที่2 # เรื่อง การทำงานของระบบหมุนเวียนเลือด ภาพที่3... อ่านต่อ

เรื่อง ส่วนประกอบและหน้าที่ของระบบประสาท ระบบประสาท ทำหน้าที่ 2. องค์ประกอบของระบบประสาทมีอะไรบ้าง 1 เซลล์ประสาท 3. เซลล์ประสาทมี ขนิด เทำหน้าที่ 3.1 3.2. เทำหน้าที่ 3.3. เทำหน้าที่ 4. สมองส่วนซีรีบรัม ทำหน้าที่เกี่ยวกับ 5. สมองส่วนซีรีเบลลัม ทำหน้าที่เกี่ยวกับ 6. สมองส่วนก้านสมอง ทำหน้าที่เกี่ยวกับ 7. ไขสันหลัง ทำหน้าที่ 8. ปฏิกิริยารีเฟล็กซ์ คือ 9. เมื่อสัมผัสของร้อนแล้วเราดึงมือกลับทันทีเป็นปฏิกิริยารีเฟล็กซ์หรือไม่เพราะเหตุใด ตอบ. 10. ปฏิกิริยารีเฟล็กซ์มีประโยชน์ค่อมนุษย์อย่างไร ตอบ.. 11. นักเรียนมีวิธีในการดูแลระบบประสาทได้อย่างไร ตอบ. ((((()

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยนะคะ🥺🙏

7. คำชี้แจง : นำข้อมูลที่กำหนดให้เติมลงในช่องว่างให้ถูกต้อง ประจุ มวล ต่ำ สูง โปรตอน นิวตรอน อิเลคตรอน หน้า 2 โพสิตรอน อนุภาคแอลฟา อนุภาคเบต้า อนุภาคแกมมา คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า กัมมันตภาพรังสี ธาตุกัมมันตังสี 1) ธาตุโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะในธรรมชาติ บางชนิดสามารถแผ่รังสีได้อย่างต่อเนื่อง เรียกว่า 2) เคือรังสีที่แผ่ออกมาจากธาตุกัมมันตรังสี ซึ่งมี 3 ชนิดได้แก่ , 3) อนุภาคแอลฟาเป็นอนุภาคที่มี เมื่อผ่านไปในสนามแม่เหล็กจะเบี่ยงเบนเข้าหาสนามแม่เหล็กขั้วลบ มีอำนาจทะลุทะลวง ทะลุผ่านกระดาษบางๆ ได้ และ อย่างละ 2 อนุภาคแต่ไม่มี ไม่อาจ 4) เกิดจากการสลายตัวของนิวเคลียสที่มีจำนวน มากเกินไปหรือน้อยเกินไปมี อำนาจทะลุทะลวง.. กว่ารังสีแอลฟาประมาณ 100 เท่า ไม่สามารถทะลุผ่านแผ่นอะลูมิเนียมหนา 2 และบีตา บวก หรือ มิลลิเมตรได้แบ่งเป็น 2 ชนิด ได้แก่ บีตา ลบหรือ จึงไม่เบี่ยงเบนในสนามแม่เหล็กมีสมบัติเป็น กว่ารังสีบีดา ไม่สามารถทะลุ 5) รังสีแกมมา เป็นอนุภาคที่ไม่มี และ ความยาวคลื่นสั้น ทำให้มีอำนาจทะลุทะลวง ผ่านแผ่นตะกั่วหนา 10 เซนติเมตรได้

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยนะคะ🥺🙏

7. คำชี้แจง : นำข้อมูลที่กำหนดให้เติมลงในช่องว่างให้ถูกต้อง ประจุ มวล ต่ำ สูง โปรตอน นิวตรอน อิเลคตรอน หน้า 2 โพสิตรอน อนุภาคแอลฟา อนุภาคเบต้า อนุภาคแกมมา คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า กัมมันตภาพรังสี ธาตุกัมมันตังสี 1) ธาตุโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะในธรรมชาติ บางชนิดสามารถแผ่รังสีได้อย่างต่อเนื่อง เรียกว่า 2) เคือรังสีที่แผ่ออกมาจากธาตุกัมมันตรังสี ซึ่งมี 3 ชนิดได้แก่ , 3) อนุภาคแอลฟาเป็นอนุภาคที่มี เมื่อผ่านไปในสนามแม่เหล็กจะเบี่ยงเบนเข้าหาสนามแม่เหล็กขั้วลบ มีอำนาจทะลุทะลวง ทะลุผ่านกระดาษบางๆ ได้ และ อย่างละ 2 อนุภาคแต่ไม่มี ไม่อาจ 4) เกิดจากการสลายตัวของนิวเคลียสที่มีจำนวน มากเกินไปหรือน้อยเกินไปมี อำนาจทะลุทะลวง.. กว่ารังสีแอลฟาประมาณ 100 เท่า ไม่สามารถทะลุผ่านแผ่นอะลูมิเนียมหนา 2 และบีตา บวก หรือ มิลลิเมตรได้แบ่งเป็น 2 ชนิด ได้แก่ บีตา ลบหรือ จึงไม่เบี่ยงเบนในสนามแม่เหล็กมีสมบัติเป็น กว่ารังสีบีดา ไม่สามารถทะลุ 5) รังสีแกมมา เป็นอนุภาคที่ไม่มี และ ความยาวคลื่นสั้น ทำให้มีอำนาจทะลุทะลวง ผ่านแผ่นตะกั่วหนา 10 เซนติเมตรได้

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่ะ เรียนออนไลน์เเล้วไม่เข้าใจ

คำถามหลังทำกิจกรรม แปลความหมายและสรุปผล 1. อัตราการเต้นของชีพจรของนักเรียนแต่ละคน ก่อนออกกำลังกายและหลังออกกำลังกาย เป็นอย่างไร 2. อัตราการเต้นของชีพจรบ่งบอกอัตราการทำงานของอวัยวะใด 3. เปรียบเทียบอัตราการเต้นของหัวใจขณะปกติและหลังทำกิจกรรมได้อย่างไร 4. สรุปผลการทำกิจกรรมนี้ได้อย่างไร การนำไปใช้ 5. การวัดชีพจรมีประโยชน์อย่างไร 6. การวัดชีพจร วัดจากหลอดเลือดชนิดใด 7. อัตราชีพจรเปลี่ยนแปลงได้หรือไม่ อย่างไร 8. นอกจากวัดชีพจรที่ข้อมือแล้วนักเรียนยังสามารถวัดชีพจรที่ส่วนใดของร่างกายได้อีกบ้าง

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
1/3