ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

ภาษาไทย มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่าาา

กิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ พิจารณาว่ากลุ่มประโยคต่อไปนี้มีการเชื่อม การซ้ำ การละ หรือการแทน ๑. เลิศลักษณาเป็นเด็กสาวช่างฝัน เธอเคยคาดหวังไว้เสมอว่า เธอจะพบกับหนุ่ม รูปหล่อ มีความรู้สูงและฐานะร่ำรวย ชายหนุ่มผู้นั้นจะต้องรักเธออย่างจริงใจ เธอเคยฝัน ไว้ด้วยว่าชีวิตคู่ของเธอจะมีความสุขสดชื่นเหมือนกับนิยายที่จบลงด้วยดี ๒. คนส่วนใหญ่ละเลยอาหารมื้อเช้าซึ่งเป็นอาหารมื้อสำคัญ สาเหตุอาจเป็นเพราะ ต้องออกจากบ้านแต่เช้าเพราะการจราจรติดขัดจนไม่มีเวลารับประทาน บางคนไม่หิว เพราะยังเช้าเกินไป บางคนเอาเวลานอนต่อดีกว่าลุกขึ้นมารับประทานอาหารเช้า บางคน ก็กลัวว่าถ้ารับประทานอาหารเช้าแล้วจะอ้วน ๓. มีวรรณคดีไทยหลายเล่มที่นำเรื่องราวมาจากวรรณคดีไทยรุ่นก่อนที่แต่งไว้แล้ว มาผูกเป็นเรื่องใหม่ขึ้นอีก โดยดัดแปลงเนื้อความทั้งหมดบ้าง ตัดเพียงบางตอนบ้าง บางที ก็คงเรื่องไว้ทั้งหมด เพียงแต่ใช้แบบแผนคำประพันธ์ให้แปลกออกไปเท่านั้น ๔. ชายหนุ่มเคาะประตูเบาๆ มีเสียงเดินทุกๆ มาที่ประตู เสียงถอดกลอนแกร๊ก แล้วประตูก็เปิดออกช้าๆ หญิงสาวที่ยืนอยู่หน้าประตูมองชายหนุ่มอย่างสงสัย ชายหนุ่ม รีบยื่นซองจดหมายส่งให้ 4. ลอกลายปักตามขนาดที่ให้มาลงบนผ้าให้มีลักษณะตามแบบ ซึ่งสะดึงบนผ้า ช่วงลายปักให้ตึง ลงมือปักด้วยวิธีปักรังดุม ใช้กรรไกรฉลุผ้าส่วนที่ไม่ต้องการออก

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ภาษาไทย มัธยมปลาย

ช่วยทำหน่อยค่ะ🥺

๒ ตอนที่ ๒ คุณค่าด้านภาษา (กลวิธีการแต่ง/กลวิธีการประพันธ์/ความงามทางวรรณศิลป์) ๒.๑ ระดับความ/รสความ/ด้านความ/สุนทรียภาพทางความ กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่อง ความงามทางภาษา เนื้อหาเรื่องนี้มี (ภาพพจน์) ๒.ค.ด จุดประสงค์การเรียนรู้ Learning Objectives จากวรรณคดีไทยเรื่อง "คำนมัสการคุณานุคุณ" ได้ คำชี้แจง/คำอธิบาย เพื่อนักเรียนสามารถวิเคราะห์ภาพพจน์ (Figures of Speech) นักเรียนสามารถวิเคราะห์ภาพพจน์โดยนำคำแสดงมโมทัศน์ต่าง ๆ ในกรอบ สี่เหลี่ยมผืนผ้าไปเติมในช่องประเภท/ลักษณะและเขียนคำตอบลงในหัวข้อต่าง ๆ ที่กำหนดให้ในช่องตารางให้ถูกต้อง (Explication) ตัวชี้วัด (Indicator) ท ๕.๑ ม.๔-๖/๓ คำแสดงมโนทัศน์ ๑. อุปมา ๕. นามนัย ๒. อุปลักษณ์ ๖. สัญลักษณ์ ๓. อติพจน์/อธิพจน์ ๔. ปฏิปัจฉา/คำถามเชิงวาทศิลป์ ๗. บุคคลวัต/บุคคลสมมติ/บุคลาธิษฐาน ตัวอย่าง ที่ วรรค/บาทของคำประพันธ์ ประเภท/ลักษณะ สังเกตได้จาก คุณส่วนนี้ควรนับ อติพจน์/อธิพจน์ เลิศ ณ แดนไตร o. ถือว่าเลิศ ณ แดนไตร ควรนึกและตรึกใน o. ที่ วรรคของคำประพันธ์ ประเภท/ลักษณะ สังเกตได้จาก ถนอมเลี้ยง ฤ รู้วาย ชนนีคือภูผา เปรียบหนักชนกคุณ ใหญ่พื้นพสุนธรา ๑. ๒. ๓. ๔. ก็ บ เทียบ บ เทียมทัน ๕. เหมือนท่านมาแกล้งเกณฑ์ สรุปได้ว่า จากภาพพจน์ในวรรณคดีไทยเรื่อง " คำนมัสการคุณานุคุณ" ดังกล่าวข้างต้นนี้ ปรากฏ ภาพพจน์ทั้งหมด ประเภท/ลักษณะ ได้แก่

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0