ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

เคมี มัธยมปลาย

สอบถามวิชาเคมีหน่อยนะคะ

แคลองดอก บทที่ 3 พันธะเคมี คำชี้แจง : จงตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง 1. จงบอกความสามารถในการละลายน้ำของสารประกอบไอออนิกต่อไปนี้ สารประกอบไอออนิก จอที 1) 2) 3) 4) 5) 6) 7) 8) 9) 10) 11) 12) 13) 14) 15) 16) 17) ใบงาน วิชาเคมี ชั้น ม.4 223888322 KI PbSO4 Ca(OH)2 LINO3 CaBr₂ NHẠC FeS Ag3PO4 CaCO3 MgO CH₂COOAg KCIO3 Ag₂SO4 Be(OH)2 K.POA SrSO4 AgCl Pbl₂ LI₂CO3 NH₂S CaO Cu(CIO4)2 BaSO4 Na₂CO Hg₂I2 PbCl₂ เรื่อง สมการไอออนิกและสมการไอออนิกสุทธิ ชื่อ น.ส.อาคัมย์สิร์ นาคประสาน จะสามา ความสามารถในการละลายน้ำ ละลายนา Rt an Name ละลายน้ำ ละลาย ไม่สาม ละลายน้ำ ละลานา ออกและสมการโอยอนิกสุทธิ nemenda กะลามหา ไม่ละลาย nemsan ชั้น 4 เลขที่ 25

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ช่วยหน่อยค่ะ

ความเข้มข้นของ NaOH (moVdm) ความเข้มข้นของ NaOH (mol/dm) ความเข้มข้นของ NaOH (mo/dm) ความเข้มข้นของ NaOH (moVdm") 14.การศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่างโซเดียมไฮดรอกไซด์กับสารละลายกรดซัลฟิวริก ทำการทดลอง โดยใช้สารละลายกรดซัลฟิวริกเป็นสารกำหนดปริมาณและใช้สารตั้งต้นปริมาณเท่ากัน แต่การทดลองที่ 1 มีอุณหภูมิต่ำกว่าการทดลองที่ 2 1, 2 TL ข้อใดเป็นกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของโซเดียมไฮดรอกไซด์กับเวลาของการทดลองทั้งสอง T + เกิดช้า การทดลองที่ 1 การทดลองที่ 2 ก. ข. เวลา (s) เวลา (s) ค. ง. เวลา (s) เวลา (s)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

มีใครเคยทำUnit Questions 2 เคมีม.5เทอม1 นี้ไหมคะ มีใครพอทำได้บ้าง🤔

Unit Question 2 แสมุด คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ 1. กำหนดปฏิกิริยาให้ ดังนี้ A + 38 - 5C + 4D ถ้านำ A 1 โมล มาทำปฏิกิริยากับ B 5 โมล พบว่า เมื่อเวลาผ่านไป 10 วินาที มีสาร C เกิดขึ้น 4 โมล อัตราการสลายตัวเฉลี่ยของสาร B ในช่วง 0-10 วินาที มีค่ากี่โมลต่อวินาที นำโลหะสังกะสี 1.3 กรัม มาทำปฏิกิริยากับสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 0.5 โมลาร์ จำนวน 20 ลูกบาศก์เซนติเมตร ในช่วงนาทีแรก มีอัตราการเกิดแก๊สไฮโดรเจนเท่ากับ 5.6 ลูกบาศก์เซนติเมตร/นาที ที่ STP อัตราการลดลงของสารละลายกรดไฮโดรคลอริกจะมีค่าเท่ากับ กีโมลาร์/นาที (กำหนดให้ มวลอะตอมของ Zn = 65) 2. เมื่อนำแมกนีเซียมจำนวน 7.2 กรัม มาทำปฏิกิริยากับสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 3 โมล/ลูกบาศก์เดซิเมตร จำนวน 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร เมื่อเวลาผ่านไป 1 นาที ปฏิกิริยา สิ้นสุดลงพอดี อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจะมีค่าเท่ากับกี่โมล/วินาที 3. Sh SL 4. จากการศึกษากลไกของปฏิกิริยา 2NO, (8) + F, (8) 2NO.F (8) มีกลไก 2 ขั้นตอน ดังนี้ NO (8) + F, (8) NO.F (g) + F (g) : เกิดช้า F (g) + NO (8) NO.F (g) ; เกิดเร็ว กฎอัตราของปฏิกิริยานี้เป็นอย่างไร 5. แก๊ส NO, สลายตัว ดังสมการ 2NO, (8) - 2NO (g) + 0, (8) ถ้าอัตราการสลายตัวของแก๊ส NO, มีค่าเท่ากับ 4.4 x 10 โมล/ลูกบาศก์เดซิเมตร-วินาที อัตราการเกิดแก๊ส 0, จะมีค่าเท่ากับกี่โมล/ลูกบาศก์เดซิเมตร-วินาที เมื่อนำแก๊สไนโตรเจนมอนอกไซด์ (NO) มาทำปฏิกิริยากับแก๊สคลอรีน (Cl,.) เกิดเป็นแก๊ส ไนโตรซิลคลอไรด์ (NOCI) เพิ่มขึ้นด้วยอัตรา 0.045 โมล/ลูกบาศก์็เดซิเมตร-วินาที อัตราการลดลง 6. ของแก๊สไนโตรเจนมอนอกไซด์ ณ ช่วงเวลาเดียวกันมีค่าเท่าใด อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี | 87

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

เคมี ม.4 เล่ม1 บทที่2 หัวข้อ 2.7การนำธาตุไปใช้ประโยชน์และผลกระทบต่อสื่งมีชีวิตครับ

ชี้แจง : ให้นักเรียน อชน์ที่ได้จากธาตุหรือสารประกอบชนิดนั้น แคลเซียม อะลูมิเนียม ซิลิคอน ในโตรเจน พ่อสฟอรัส ออกซิเจน ไอโอดีน เหล็ก ทองแดง สังกะสี โครเมียม เรเดียม 1. ใช้ในหลอดไฟฟ้า 2 ใช้แก้ความเป็นกรดของดิบ 3. ใช้ทำระเบิดเพลิง และไม่ขีดไฟ 4. เป็นองค์ประกอบสำคัญของเม็ดเลือดแดง 5. ใช้ทำกระป๋องบรรจุน้ำอัดลม 6. นำมาละลายใบเอทานอล เพื่อใช้ทาแผลฆ่าเชื้อโรค 7. ใช้ทำวงจรไฟฟ้าขนาดเล็ก เพื่อใช้ในอุปกรณ์ไฟฟ้า 8. ใช้ในการเตรียมสารตั้งต้นที่นำไปผลิตปุ๋ย และพธุสี 9. เป็นองค์ประกอบในเลือดปู หมึก หอยโข่ง และแมงป่อง 10. ใช้เป็นสารดูดความขึ้น และใช้ในเทคนิคโครมาโทรกราฟิ 11. ใช้เป็นตัวออกซิไดซ์ และเป็นเชื้อเพลิงของจรวด 12 ใช้ในการรักษาโรคมะเร็ง และใช้อุตสาหกรรมของสารเรืองแสง 13. เป็นส่วนประกอบในการผลิตฮอร์โมนไทรอกจินโนต่อมไทรอยด์ 14. ใช้เป็นส่วนผสมของลีขาว และใช้ทำยาจำพวกขี้ผึ้ง หรือเครื่องสำอาง 15. ใช้ทำเครื่องมือที่ต้องการต้านทานการผุกร่อนต่อกรด และสารเคมี 16. เป็นส่วนประกอบของเอนไอม์บางชนิดที่ช่วยย่อย และสังเคราะห์โปรติน 17. ใช้ในการเกิดปฏิกิริยาเผาไหม้และสันดาปของสารต่างๆ ในร่างกายของสิ่งมีชีวิต 18. ทำหน้าที่ควบคุมความเป็นกรด เบสในเลือด และของเหลวในร่างกายของเสิ่งมมชีวิต 19. ใช้เคลือบผิวของโลหะโดยการชุบโลหะด้วยไฟฟ้า ทำให้ได้โลหะที่มีผิวเป็นมันวาวและ ไม่ผุกร่อน 20. ใช้ในกระบวนการทางชีวเคมีเฉพาะอย่างในร่างกายมนุษย์ก้าชาดจะทำให้เกิดความ บกพร่องในการสังเคราะห์ไขมันบางชนิด

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

อันนี้ทำยังไงเหรอคะ ช่วยหน่อยค่ะ

66 เคมี ม.5 เล่ม 1 กิจกรรมตรวจสอบการเรียนรู้ที่ 2.1 2.1 ก จงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. จากสมการเคมีและกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณของสารกับเวลาที่กำหนดให้ดังนี้ เกิดขึ้นรวด จำนวนโมสของสาร C (mol) สามารถเขี 5 2A+B - C+3D 3 -- 2 1 - 0 20 40 60 80 100 120 1.1 สาร D จะเกิดขึ้นกีโมล 1.2 สาร A และ B หมดไปจำนวนเท่าไร 1.3 ทราบหรือไม่ว่านำสารตั้งต้นมาจำนวนเท่าไร เพราะเหตุใด 2. ถ้านำสาร A มา 5 โมล สาร B 2 โมล ทำปฏิกิริยากัน เมื่อสินสุดปฏิกิริยาจะได้สาร C 2 โมล สาร D 1 โมล และมีสาร A เหลืออยู่ 1 โมล 2.1 เขียนสมการแสดงปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้น เวลา (s) 2.2 เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณของสารกับเวลา 2.ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ะการเลือกใช้สารใมปฏิกิริยเพื่อให้ ย - - - - - - - - -

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
เคมี มัธยมปลาย

ข้อนี้ทำยังไงคะ เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีค่ะ

ค0)เมื่อให้ X ทำปฏิกิริยากับ Y เกิดผลิตภัณฑ์ XY3 ดังสมการ X(g) + 3Y(g) - XY3(g) ดังตาราง การทดลองที่ [X] (mol/dm) [Y] (mol/dm) อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (mol-dms ) 1 0.3 9.4 1.4 x 103 2 0.6 0.8 5.6 x 103 3 1.2 0.8 1.12 x 102 ข้อความใดสรุปถูกต้อง 1. ความเข้มข้นของ X มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยามากกว่าความเข้มข้นของ Y 2. Y เป็นสารตั้งต้นที่ปรากฏในกลไกขั้นที่เกิดเร็ว 3. อัตราการเกิดปฏิกิริยาขึ้นกับความเข้มข้นของ X และ Y 4. สรุปไม่ได้ว่าอัตราการเกิดปฏิกิริยาขึ้นกับความเข้มข้น Y หรือไม่ 21) กราฟ เป็นกราฟจากการสลายตัวของสารละลาย H2O2 เข้มข้น 1 mol/dm จำนวน 100 cm มีแมงกานีส - 2H2O(1) + O2(aq) ออกไซด์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาดังสมการ 2H,O.(aq)

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
1/5