ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ข้อนี้ตอบแบบนี้มั้ยคะ

อาหาร P 57. พิจารณาปริมาณสารอาหารแต่ละชนิดในอาหาร P Q R และ S ต่อปริมาณอาหาร 100 กรัม ดังตาราง อาหาร (1009) สารอาหาร อาหาร R อาหาร Q อาหาร 5 คาร์โบไฮเดรต (9) แกล/ก โปรตีน (g) 4-แคล/1 30 0 5 2 6 20 20 1 ไขมัน (9) 4 เดลก 1 4 3 20 วิตามิน A (IU) โรคบาง 0 15 110 16 1 - วิตามิน B1 (mg)โรคจากก 0.01 0.75 0.18 0.08 วิตามิน C (mg) กระจอก 0 0 0 99 ข้อใดกล่าวถูกต้อง อ PA มาอาจเสี่ยงเป็นฟาง 1. ถ้าบริโภคอาหาร P เพียงอย่างเดียวเป็นเวลานานจะลดโอกาสการเป็นโรค ตาฟางและปากนกกระจอก 3 ถ้าบริโภคอาหาร 5 จะได้รับพลังงานสูงสุดเมื่อเทียบกับอาหารอื่นในปริมาณที่เท่ากัน 3. ถ้าบริโภคอาหาร Q เพียงอย่างเดียวเป็นเวลานานจะมีโอกาสเป็นโรคเหน็บชา 4. ถ้าบริโภคอาหาร R เพียงอย่างเดียวเป็นเวลานานจะทำให้กล้ามเนื้อลีบ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหาคำตอบทีครับ

21. ธาตุในข้อใดเป็นธาตุในกลุ่มธาตุเรพรีเซนเททีฟ และกลุ่มธาตุแทรนซิชัน ตามลำดับ ก. Mn, P ข. Mg, Ca ค. O, Ti ง. Co, Zn ผลการเรียนรู้ที่ 6 เปรียบเทียบสมบัติการนำไฟฟ้า การให้และรับอิเล็กตรอนระหว่างธาตุในกลุ่มโลหะกับอโลหะ (P4) 22. ธาตุในข้อใดที่นำไฟฟ้า และไม่นำไฟฟ้า ตามลำดับ ก. Y, He ข. Xe, H ค. Fe, Mg ง. B, Na 23. ธาตุในข้อใดที่เมื่อเกิดสารประกอบแล้วจะให้อิเล็กตรอน และรับอิเล็กตรอน ตามลำดับ ก. P, CL ข. Na, Cl 24. ข้อมูลแสดงสมบัติบางประการของธาตุ 4 ชนิด เป็นดังนี้ ค. H, CL ง. O, H สมบัติบางประการของธาตุ ธาตุ จุดหลอมเหลว (°C) จุดเดือด (°C) การนำไฟฟ้า A 419 907 นำไฟฟ้า E 114 184 ไม่นำไฟฟ้า J 842 1484 Q 2076 3927 นำไฟฟ้า นำไฟฟ้าได้ดีขึ้น เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น จากข้อมูล การสรุปสมบัติที่อุณหภูมิห้องของธาตุใดถูกต้อง (ONET-62) ก. ธาตุ Q เป็นของแข็งที่มีสมบัติเป็นธาตุโลหะ ข. ธาตุ 1 เป็นของแข็งที่สามารถทุบให้แผ่ออกเป็นแผ่นบางๆ ได้ ค. ธาตุ E เป็นของแข็งมีลักษณะมันวาว สามารถนำความร้อนได้ ง. ธาตุ A เป็นของแข็งที่มีความเปราะ เมื่อทุบด้วยค้อนจะแตกเป็นชิ้นเล็ก ๆ ผลการเรียนรู้ที่ 7 สืบค้นข้อมูลและนำเสนอตัวอย่างประโยชน์และอันตรายที่เกิดจากธาตุเรพรีเซนเททีฟ และธาตุแทรนซิชัน 25. เพราะเหตุใดจึงนิยมใช้แก๊สฮีเลียม บรรจุในลูกบอลลูนแทนแก๊สไฮโดรเจน ก. ข. ค. ง. 4

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยนะคะ

14:34 cdn.fbsbx.com • 4G (57 เรียบร้อย ชั้น เลขที่ ใบงานที รายวิชาวิทยาศาสต นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่อง การดำรงชีวิตของพืช (Plants) ชื่อ-สกุล 1) จงบอกส่วนประกอบของพืชพร้อมหน้าที่อย่างสังเขป หมายเลข 1 คือ หน้าที หมายเลข 2 คือ หน้าที่ หมายเลข 3 คือ หน้าที หมายเลข 4 คือ หน้าที หมายเลข 5 คือ หน้าที่ หมายเลข 6 คือ หน้าที 2) จากข้อมูลที่กำหนดให้เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวหรือพืชใบเลี้ยงคู่ เส้นใบ ใบเลี้ยง @ 00 * ราก ข้อ ปล้อง ท่อลาเลียง (ลำต้น) ท่อลาเลียง (ราก) 3) จงบอกชนิด หน้าที่ และพิศการลำเลียงของท่อลำเลียงในพืชใบเลี้ยงคู่ หน้าที ทิศทางการลำเลียง 4 นํ้าและอาหาร กล้าเสียงไปในต้นพืชได้โดยวิธีการใด ตอบ 5) เพราะเหตุใด ใส่ปุ๋ยให้แก่ต้นพืชในปริมาณมาก พืชจึงเหี่ยวเผา ตอบ 6) การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชมักเกิดที่บริเวณใบ เนื่องจาก ตอบ 7 บอกปัจจัยที่สําคัญในการสงเคราะห์ด้วยแสงของพื ตอบ หน้า ทิศทางการลำเลียง อ

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยทีค่ะ

1 แบบสอบปรนัยและอัตนัยเพื่อพัฒนาทักษะกระบ หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สารและสมบัติของสาร หน้าคำตอบที่ถูกต้องให้เต็มวง 2 ตอนที่ 1 นักเรียนใช้ดินสอระบายลงใน 1. ข้อใดไม่ใช่สมบัติทางกายภาพของสาร สถาน การนำไฟฟ้า ถ้านักเรียนจำแนกประเภทของสารออกเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้ (2) ความหนาแน่น 4) การติดไฟ กลุ่มที่ 1 กำมะถัน น้ำตาลทราย แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ กลุ่มที่ 2 น้ำโคลน น้ำเกลือ อากาศ เกณฑ์ที่ใช้ในการจำแนกสารออกเป็น 2 กลุ่มดังกล่าวคือข้อใด (1) สถานะ 2 ลักษณะเนื้อสาร ขนาดอนุภาคของสาร 4, จำนวนชนิดของสารองค์ประกอบ เมื่อนำสาร A มาทดลองหาจุดเดือด พบว่าจุดเดือดของสาร A ไม่คงที่ ข้อสรุปใดถูกต้องที่สุด สาร A เป็นสารโลหะ สาร A เป็นสารผสม 3 สาร A เป็นสารบริสุทธิ์ (4) สาร A เป็นสารเนื้อเดียว คะแนนเพิ่ม สารผสมจุดเดือดคงที่ แต่สารบริสุทธิ์จุดเดือดไม่คงที่ สมบัติเกี่ยวกับจุดเดือดของสารผสม (mixtures) และสารบริสุทธิ์ (pure substances) ข้อใด 2) สารผสมจุดเดือดไม่คงที่ แต่สารบริสุทธิ์จุดเดือดคงที่ 3) ทั้งสารผสมและสารบริสุทธิ์มีจุดเดือดไม่คงที่ 4) ทั้งสารผสมและสารบริสุทธิ์มีจุดเดือดคงที่

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยทีค่ะ

1 แบบสอบปรนัยและอัตนัยเพื่อพัฒนาทักษะกระบ หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สารและสมบัติของสาร หน้าคำตอบที่ถูกต้องให้เต็มวง 2 ตอนที่ 1 นักเรียนใช้ดินสอระบายลงใน 1. ข้อใดไม่ใช่สมบัติทางกายภาพของสาร สถาน การนำไฟฟ้า ถ้านักเรียนจำแนกประเภทของสารออกเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้ (2) ความหนาแน่น 4) การติดไฟ กลุ่มที่ 1 กำมะถัน น้ำตาลทราย แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ กลุ่มที่ 2 น้ำโคลน น้ำเกลือ อากาศ เกณฑ์ที่ใช้ในการจำแนกสารออกเป็น 2 กลุ่มดังกล่าวคือข้อใด (1) สถานะ 2 ลักษณะเนื้อสาร ขนาดอนุภาคของสาร 4, จำนวนชนิดของสารองค์ประกอบ เมื่อนำสาร A มาทดลองหาจุดเดือด พบว่าจุดเดือดของสาร A ไม่คงที่ ข้อสรุปใดถูกต้องที่สุด สาร A เป็นสารโลหะ สาร A เป็นสารผสม 3 สาร A เป็นสารบริสุทธิ์ (4) สาร A เป็นสารเนื้อเดียว คะแนนเพิ่ม สารผสมจุดเดือดคงที่ แต่สารบริสุทธิ์จุดเดือดไม่คงที่ สมบัติเกี่ยวกับจุดเดือดของสารผสม (mixtures) และสารบริสุทธิ์ (pure substances) ข้อใด 2) สารผสมจุดเดือดไม่คงที่ แต่สารบริสุทธิ์จุดเดือดคงที่ 3) ทั้งสารผสมและสารบริสุทธิ์มีจุดเดือดไม่คงที่ 4) ทั้งสารผสมและสารบริสุทธิ์มีจุดเดือดคงที่

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยนะคะ ขอบคุณค่ะ🙏🙏

คาชีแจง จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว แล้วทำเครื่องหมายกากบาท (X) ลงในกระดาษคำตอบ 1. ถ้าต้องการวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าควรใช้เครื่องมือชนิดใดและต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้าอย่างไร 1. แอมมิเตอร์ต่อแบบขนานกับวงจร 2. โวลต์มิเตอร์ต่อแบบขนานกับวงจร 3. แอมมิเตอร์ต่อแบบอนุกรมกับวงจร 4. โวลต์มิเตอร์ต่อแบบอนุกรมกับวงจร 2. ถ้าต้องการวัดปริมาณกระแสไฟฟ้าควรใช้เครื่องมือชนิดใดและต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้าอย่างไร 1. แอมมิเตอร์ต่อแบบขนานกับวงจร 2. โวลต์มิเตอร์ต่อแบบขนานกับวงจร 3. แอมมิเตอร์ต่อแบบอนุกรมกับวงจร 4. โวลต์มิเตอร์ต่อแบบอนุกรมกับวงจร 3. ข้อใดแสดงถึงกฎของโอห์ม 1. ความต้านทานแปรผันตรงกับชนิดของสาร 2. กำลังไฟฟ้าเป็นอัตราส่วนของพลังงานที่ใช้กับเวลา 3. ความจุไฟฟ้า คือ อัตราส่วนของประจุไฟฟ้ากับความต่างศักย์ 4. ความต่างศักย์เท่ากับผลคูณของกระแสไฟฟ้ากับความต้านทาน 4. กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้ากับกระแสไฟฟ้าดังรูปหากต้องการหาความต้านทานจะต้องทำ อย่างไร ความต่างศักย์ V) กระแสไฟฟ้า (A) 1. ใช้พื้นที่ใต้กราฟ 2. ใช้จุดตัดบนแกน X 3. ใช้จุดตัดบนแกน Y 4. ใช้ความซันของกราฟ 5. ถ้าต่อตัวต้านทานที่มีค่าความต้านทาน 36 โอห์ม เข้ากับความต่างศักย์ 12 โวลต์ ตัวต้านทานดังกล่าวจะม กระแสไฟฟ้าไหลผ่านกี่แอมแปร์ 1. 0.03 แอมแปร์ 2. 0.33 แอมแปร์ 3. 3.33 แอมแปร์ 4 33.3 แอมแปร์

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

หาค่ายังไงหรอคะช่วยสอนหน่อยค่ะ และยกตัวอย่างมา1ข้อหน่อยค่ะ🙏

3G 4G ย ย 09:29 น. 13.2 KB/s 85 Q ใบงาน เรื่อง รหัสลับบรรย... C Ads LIVEWORKSHEETS Search interactive worksheets English - Espaniol Home About this site Interactive worksheets Make interactive worksheets Make interactive workbooks Students access Teachers access - ใบงาน เรื่อง รหัสลับบรรยากาศ Remote learning 1-2-1 - Al levels taught OPEN Our Tuition Programmes are Individually Tailored to Meet the Requirements of the Student. gabbitas.com ชื่อ ในามสกุล ใชั้น ม.1/. เลขที่ ใบงาน เรื่อง รหัสลับบรรยากาศ คำชี้แจง ให้นักเรียนเติมคำหรือข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง 1. ให้นักเรียนหาค่าความขึ้นสัมพัทธ์ที่มีความสัมพันธ์กับอุณหภูมิของเทอร์มอมิเตอร์กระเปาะแห้งและกระเปาะ เปียกที่กำหนดให้ในตาราง 2. นำค่าความชื้นสัมพัทธ์ที่ได้ไปเปรียบเทียบกับตารางรหัสความลับและนำอักษรที่ได้เติมลงในช่องรหัสลับจาก ตาราง ผลต่างของอุณหภูมิของเทอร์มอมิเตอร์ กระเปาะแห้ง และกระเปาะเปียก (C) 3. อ่านรหัสลับจากบนลงล่างก็จะได้คำตอบของรหัสลับ 1 ค่าความชื้น 2 3 5 ข้อ อุณหภูมิของเทอร์มอมิเตอร์ รหัสลับจาก 60 6. ที่ (องศาเซลเซียส) สัมพัทธ์ 60 74 62 ตาราง 33 กระเปาะแห้ง กระเปาะเปียก 32 1 28 24 20 92 65 2 35 30 29 92 78 92 17 3 35 29 92 56 ซึ่ง 76 4 25 23 25 92 24 91 63 15 60 53 5 23 22 23 59 6 13 10 22. 91 1 65 49 7 15 5 20 19 90 54 46 8 26 25 18 90 53 9 35 33 17 43 16 10 35 31 15 14 11 11 10 13 63 66 55 12 22 18 12 53 43 32 11 67 75 ตารางรหัสความลับ 10 68 63 84 24 70 91 66 48 92 87 74 T2 17 5 y C h 0 t m 6 55 27 13 53 24 4 3 51 3 1 16 12 1 รหัสลับบรรยากาศ คือ 21 3 EELIVEWORKSHEETS 5 Q = 2 = อุณหภูมิกระเป๋าะแห้ง ("C)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยดูให้หน่อยได้ไหมคะว่าทำถูกหรือเปล่า วิทยาศาสตร์ม 3 ค่ะ🙏🙏🙏

59. ข้อใดดุลสมการได้ถูกต้อง (มย. ว 2.1 ม.3/3) 1. Al(s) + 0(g) + Al,O4s) 2. 2AI(s) + 0(g) Alo(5) 3. 2A(s) + 30,(g) + Al,os) 1) 4A(s) + 304g)+2Ayo(s) 60. ข้อใตกล่าวถึงกฎทรงมวลไม่ถูกต้อง (มฐ. ว 2.1 ม.3/4) 1. เกิดในระบบปิดเท่านั้น ไม่ขึ้นกับการเปิดหรือปิดภาชนะ 3. ไม่มีการถ่ายเทมวลให้กับสิ่งแวดล้อม 4. มวลของสารก่อนและหลังเกิดปฏิกิริยาเท่ากัน 61. ให้สาร A ทำปฏิกิริยากับลาร B 10 กรัม ในบีกเกอร์ที่มีฝาปิด เกิดเป็นสาร C จำนวน 12 กรัม และแก๊ส D 8 กรัม ถ้าการทดลองนี้เป็นไปตามกฎทรงมวลแสดงว่าปฏิกิริยานี้ใข้สาร A กี่กรัม (มฐ. ว 2.1 ม.3/4) 1. 8 กรัม @10 กรัม 3. 12 กรัม 4. 20 กรัม 62. สารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์ (K) 1.56 กรัม ทำปฏิกิริยากับเลด (I) ในเตรต 1.66 กรัม ได้เป็น โพแทสเซียมในเตรต (KND,) และเลด (I) ไอโอไดด์ ถ้ามีโพแทสเซียมไนเตรตเกิดขึ้น 2.4 กรัม อยากทราบ ว่ามีเสต (I) ไฮโอไดต์เกิดขึ้นกี่กรัม (มต, ว 2.1 ม.3/4) 1. 0.10 กรัม 2. 0.82 กรัม 3. 1.56 กรัม 4. 3.22 กรัม 63. การละลายของโซเดียมไฮตรอกไซด์นี้เป็นการเปลี่ยนแปลงแบบโต (มฐ. ว 2.1 ม.3/5) 1. การเปลี่ยนแปลงแบบดูดอุณหภูมิ 3. การเปลี่ยนแปลงแบบดูตความร้อน 64. ปฏิกิริยาเคมีที่มีการถ่ายเทพลังงานให้กับสิ่งแวดล้อมเรียกว่าอะไร (มฐ.ว 2.1 ม.3/5) 2. การเปลี่ยนแปลงแบบคายอุณหภูมิ (4) การเปลี่ยนแปลงแบบคายความร้อน 2. ปฏิกิริยาการเผาไหม้ 4. ปฏิกิริยาคายความร้อน 1. ปฏิกิริยาออกซิเดชั่น 3. ปฏิกิริยาดูดความร้อน 65. แก๊สแอมโมเนียสลายตัวดังสมการต่อไปนี้ 2NH(g) + 93 ป -+ N,(9) + 3H,(g) ปฏิกิริยานี้เป็นการเปลี่ยนแปลงแบบโต (มฐ. ว 2.1 ม.3/5) 1. การเปลี่ยนแปลงแบบดตูตอุณหภูมิ 2 การเปลี่ยนแปลงแบบตูดความร้อน 3. การเปลี่ยนแปลงแบบคายอุณหภูมิ 4. การเปลี่ยนแปลงแบบคายความร้อน แบบทดสอบตามผลการเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 11

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหนูหน่อยนะคะ วงมาในกระดาษเลยก็ได้ค่ะ หนูต้องเอาไปอ่าน อันนี้ครูเขาพึ่งส่งมาให้บอกเป็นเเนวค่ะ หนูหาไม่ทันจริงๆค่ะ พรุ่งนี้หนูต้องสอบกล... อ่านต่อ

66. X + กรดสาร + H,0 + CO, จากสมการ สาร X ควรเป็นสารใด (มต, ว 2.1 ม.3/6) 1. น้ำ 2. เบส 3. โลหะ 4. หินปูน 67. การทดลองใดเกิตแก๊สขนิดเดียวกัน (มต. ว 2.1 ม.3/6) สารตั้งต้น การทดสอบ 1 สังกะสี + กรดซัลฟิวริก หินปูน + กรดไฮโดรคลอริก 2 3 กรดเกลือ + โซดาไฟ 1. การทดลองที่ 1 และ 2 2. การทดลองที่ 1 และ 3 3. การทดลองที่ 2 และ 3 4. ไม่มีการทดลองใดที่เกิดแก๊สชนิดเดียวกัน 68. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการเกิดสนิม (มฐ.ว 2.1 ม.3/6) 1. เสนิมเกิดขึ้นได้กับโลหะทุกชนิด 2. แก๊สต่าง ๆ ในอากาศสามารถทำให้เกิดสนิมได้ 3. ปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดสนิม คือ น้ำและอากาศ 4. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดสนิม 69. ข้อนอะลูมิเนียมเมื่อใช้ไปนาน ๆ ผิวจะไม่มันวาวเหมือนตอนแรก ๆ เพราะเหตุใด (มฐ. ว 2.1 ม.3/7) 1. อะลูมิเนียมทำปฏิกิริยากับกรด 2. อะลูมิเนียมทำปฏิกิริยากับเบส 3. อะลูมิเนียมทำปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจน 70. วิธีแก้ปัญหาของใครที่ไม่ได้เกิดจากการบูรณาการความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ 4. อะลูมิเนียมทำปฏิกิริยากับแก๊สไฮโดรเจน และเทคโนโลยี (มฐ. ว 21 ม.3/8) 1. ก้านให้รปภ.หมู่บ้านโทรมาบอกเมื่อรถขายไอศกรีมกำลังจะเข้าหมู่บ้าน 2. แก้วเชื่อมต่อโทรศัพท์มีอถือเข้ากับกล้องวงจรปิดในห้องของลูกเพื่อใช้ดูลูกในเวลากลางคืน 3. กล้าตั้งเวลาและอุปกรณ์เปิด-ปิดอัตโนมัติไว้ที่ขวดอาหารเพื่อให้อาหารแมวในเวลาที่ไปต่างจังหวัด 4. เก่งติดเซนเซอร์รับแสงที่ราวตาผ้าเพื่อให้สามารถหดเก็บเข้าที่ร่มได้เมื่อมีฝนตกตอนไม่มีคนอยู่บ้าน แบบทดสอบตามผลภารเรียนรู้เพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 12

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/5