ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหาคำตอบทีครับ

21. ธาตุในข้อใดเป็นธาตุในกลุ่มธาตุเรพรีเซนเททีฟ และกลุ่มธาตุแทรนซิชัน ตามลำดับ ก. Mn, P ข. Mg, Ca ค. O, Ti ง. Co, Zn ผลการเรียนรู้ที่ 6 เปรียบเทียบสมบัติการนำไฟฟ้า การให้และรับอิเล็กตรอนระหว่างธาตุในกลุ่มโลหะกับอโลหะ (P4) 22. ธาตุในข้อใดที่นำไฟฟ้า และไม่นำไฟฟ้า ตามลำดับ ก. Y, He ข. Xe, H ค. Fe, Mg ง. B, Na 23. ธาตุในข้อใดที่เมื่อเกิดสารประกอบแล้วจะให้อิเล็กตรอน และรับอิเล็กตรอน ตามลำดับ ก. P, CL ข. Na, Cl 24. ข้อมูลแสดงสมบัติบางประการของธาตุ 4 ชนิด เป็นดังนี้ ค. H, CL ง. O, H สมบัติบางประการของธาตุ ธาตุ จุดหลอมเหลว (°C) จุดเดือด (°C) การนำไฟฟ้า A 419 907 นำไฟฟ้า E 114 184 ไม่นำไฟฟ้า J 842 1484 Q 2076 3927 นำไฟฟ้า นำไฟฟ้าได้ดีขึ้น เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น จากข้อมูล การสรุปสมบัติที่อุณหภูมิห้องของธาตุใดถูกต้อง (ONET-62) ก. ธาตุ Q เป็นของแข็งที่มีสมบัติเป็นธาตุโลหะ ข. ธาตุ 1 เป็นของแข็งที่สามารถทุบให้แผ่ออกเป็นแผ่นบางๆ ได้ ค. ธาตุ E เป็นของแข็งมีลักษณะมันวาว สามารถนำความร้อนได้ ง. ธาตุ A เป็นของแข็งที่มีความเปราะ เมื่อทุบด้วยค้อนจะแตกเป็นชิ้นเล็ก ๆ ผลการเรียนรู้ที่ 7 สืบค้นข้อมูลและนำเสนอตัวอย่างประโยชน์และอันตรายที่เกิดจากธาตุเรพรีเซนเททีฟ และธาตุแทรนซิชัน 25. เพราะเหตุใดจึงนิยมใช้แก๊สฮีเลียม บรรจุในลูกบอลลูนแทนแก๊สไฮโดรเจน ก. ข. ค. ง. 4

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่ะ

หัว กำลังไฟต่อหน่วย (วัตต์) ตู้เย็น 90 กิจกรรมที่ 5.9 คำนวณหาผลลัพธ์จากโจทน์ที่กำหนดให้ (แสดงวิธีทำ) บ้านของคิมใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าในเดือนมิถุนายน ดังนี้ จํานวน 1 เครื่อง คะแนนท์ได้ เวลาที่ใช้งานต่อวัน (ชั่วโมง) 24 หลอดไฟ 40 10 ดวง 10 10 โทรทัศน์ 50 1 เครื่อง 3 เครื่องดูดฝุ่น 690 1 เครื่อง 1 เครื่องปรับอากาศ 3,025 1 เครื่อง 8 B หนดให้ ค่าบริการเท่ากับ 38.22 บาท ค่า Ft เท่ากับ -11.60 สตางค์ต่อหน่วย และอัตรา ไฟฟ้าปกติกรณีการใช้พลังงานไฟฟ้าเกิน 150 หน่วยต่อเดือน ดังนี้ หน่วยที 1-150 151-400 401 เป็นต้นไป 1. บ้านของคิมใช้กำลังไฟฟ้าของเดือนมิถุนายน เท่าไร ค่าพลังงานได้ฟ้า (บาทต่อหน่วย) 3.2484 4.2218 4.4217 votbS น

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยเขียนเพิ่มหน่อยค่ะ

A Z FEST d บอท 1) 2) 3) 4) 5) 6) 7) 8) 9) 10) 11) 12) 13) 14) 15) มุมความรู้ สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ เลขมวล -p + สัญลักษณ์ของธาตุ เลขอะตอม - P ...... 2³Na 11 16 391 แบบฝึกหัดที่ 2 คำสั่ง : จงตอบคำถามในข้อต่อไปนี้ 1. จงระบุเลขอะตอม เลขมวล และจำนวนอนุภาคมูลฐานของแต่ละธาตุจากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุที่กำหนดให้ สัญลักษณ เลขมวล เลขอะตอม นิวเคลียร โปรตอน 12C 14 6 180 8 19F 20 21 10 23 21 "1 32 34 24Mg2+ 12¹ 23A1³+ 40 Ca²+ 20 70. 14N³- 14 160²- 16 15¹ 35C1- 80 35 24 27 Br 35 115 12 22 23 เทคนิคในการจำนวนอนุภาคมูลฐานจากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ 1. หาจํานวน 2 - 2 - เลขอะตอม หรือเลขล่าง 2. หาจํานวน e 17 18 ในอะตอมที่เป็นกลาง ไม่มีประจุ) → e = P ในไอออนบวก → e - P - เลขแสดงประจุ ในไอออนลบ → e - p + เลขแสดงประจุ 3. หาจํานวน 0 - เลขมวล - เลขอะตอม หรือ เลขบน - เลขล่าง ● 16 7 8 35 17 71 35 อิเล็กตรอน 6 /1 10 12 10 13 10 20 ๒ 18 10 10 จํานวน 18 36 นิวตรอน 12 12 16 12 14 2 14 60

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ไม่ค่อยเข้าใจเลยค่ะ ช่วยอธิบายหน่อยได้มั้ยㅜㅜ

4.4 กรณีปล่อยให้วัตถุตกในแนวดิ่งภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลก วัตถุจะมีความเร่งคงตัวเท่ากับความเร่งโน้มถ่วงของโลก คือ 9.8 m หมายความว่า วัตถุจะมีความเร็วเพิ่มขึ้นสม่ำเสมอ 9.8 m/s ในทุกๆ 1 วินาที ปล่อย เวลา0 วินาที ความเร็ว −0 ms เวลา เวินาที ความเร็ว 9.8 x 19.8 m/s เวลา 2 วินาที ความเร็ว 9.8 x 219.6 ms เวลา 3 วินาที ความเร็ว 9.8× 3 29.4 ms กราฟความเร็วกับเวลา @S= ut กราฟความเร่งกับเวลา 8-9.8 m/s² หรือ v=gt F 4.5 ความเร็วคงตัว กับ อัตราเร็วคงตัว มีความหมายต่างกัน 2 m/s 2 m/s 2 m/s 2 m/s 2 m/s 2 m/s 2 m/s เมื่อปล่อยให้วัตถุตกในแนวดิ่ง ความเร็วของวัตถุที่เวลาต่างๆ หาได้ดังนี้ ปล่อย (0) สมการ Vะบgt v=0+gt 2 m/s 2 m/s ความเร่งคว g-9.8 m/s² √ns at ²: sut. at 2 Scut v jt 2 (4) √ ² = u²²² +225. V = 4+ at 05 ความเร็วคงตัว หมายความว่าอัตราเร็วสม่ำเสมอ และ วิ่งแนวตรง ความเร่งเป็นศูนย์) ไม่มีการเปลี่ยนทิศ อัตราเร็วคงตัว หมายความว่าอัตราเร็วสม่ำเสมอ โดยอาจวิ่งแนวตรงหรือแนวโค้ง ก็ได้ - ถ้าอัตราเร็วคงตัวและวิ่งแนวตรง ความเร่งเป็นศูนย์ ถ้าอัตราเร็วคงตัวและวิ่งแนวโค้ง ความเร่งไม่เป็นศูนย์

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยนะคะ ขอบคุณค่ะ🙏🙏

คาชีแจง จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว แล้วทำเครื่องหมายกากบาท (X) ลงในกระดาษคำตอบ 1. ถ้าต้องการวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าควรใช้เครื่องมือชนิดใดและต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้าอย่างไร 1. แอมมิเตอร์ต่อแบบขนานกับวงจร 2. โวลต์มิเตอร์ต่อแบบขนานกับวงจร 3. แอมมิเตอร์ต่อแบบอนุกรมกับวงจร 4. โวลต์มิเตอร์ต่อแบบอนุกรมกับวงจร 2. ถ้าต้องการวัดปริมาณกระแสไฟฟ้าควรใช้เครื่องมือชนิดใดและต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้าอย่างไร 1. แอมมิเตอร์ต่อแบบขนานกับวงจร 2. โวลต์มิเตอร์ต่อแบบขนานกับวงจร 3. แอมมิเตอร์ต่อแบบอนุกรมกับวงจร 4. โวลต์มิเตอร์ต่อแบบอนุกรมกับวงจร 3. ข้อใดแสดงถึงกฎของโอห์ม 1. ความต้านทานแปรผันตรงกับชนิดของสาร 2. กำลังไฟฟ้าเป็นอัตราส่วนของพลังงานที่ใช้กับเวลา 3. ความจุไฟฟ้า คือ อัตราส่วนของประจุไฟฟ้ากับความต่างศักย์ 4. ความต่างศักย์เท่ากับผลคูณของกระแสไฟฟ้ากับความต้านทาน 4. กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้ากับกระแสไฟฟ้าดังรูปหากต้องการหาความต้านทานจะต้องทำ อย่างไร ความต่างศักย์ V) กระแสไฟฟ้า (A) 1. ใช้พื้นที่ใต้กราฟ 2. ใช้จุดตัดบนแกน X 3. ใช้จุดตัดบนแกน Y 4. ใช้ความซันของกราฟ 5. ถ้าต่อตัวต้านทานที่มีค่าความต้านทาน 36 โอห์ม เข้ากับความต่างศักย์ 12 โวลต์ ตัวต้านทานดังกล่าวจะม กระแสไฟฟ้าไหลผ่านกี่แอมแปร์ 1. 0.03 แอมแปร์ 2. 0.33 แอมแปร์ 3. 3.33 แอมแปร์ 4 33.3 แอมแปร์

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/8