ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

บอกหน่อยค่ะ ทำยังไง🥹🥹🥹

ใบกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ที่ 3.5 การทดลองวัดขนาดของสิ่งของ จุดประสงค์ เลือกเครื่องมือวัดได้เหมาะสมกับสิ่งที่วัด และบันทึกผลการวัดได้ วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ทดลองเครื่องมือวัด 1. ไม้โปรแทรกเตอร์ 2. ไม้บรรทัด 3. ตลับเมตร 2. โต๊ะครู 3. หนังสือเรียน วิธีปฏิบัติกิจกรรม สิ่งของที่ต้องวัด 1. โต๊ะเรียน 1. แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน ให้ตัวแทนกลุ่มออกมาจับสลากเพื่อเลือก สิ่งที่วัดกลุ่มละ 1 รายการ 2. ใช้ไม้บรรทัดวัดความกว้าง ความยาวของสิ่งของที่จับสลากได้โดยใช้หน่วยวัดเป็นเซนติเมตร บันทึกผลการวัดลงในตารางบันทึกผล ทำการทดลองซ้ำ 3 ครั้ง หาค่าเฉลี่ย และคำนวณหาพื้นที่ 3. ทำการทดลองเช่นเดียวกับข้อ 2 แต่เปลี่ยนเครื่องมือวัดเป็น ไม้โปรแทรกเตอร์ และ ตลับเมตร ตารางบันทึกผลการทดลอง สิ่งที่วัด คือ เครื่องมือวัด ด้านที่วัด ครั้งที 1 (cm) ไม้บรรทัด กว้าง ยาว ไม้โปรแทรกเตอร์ กว้าง ตลับเมตร ยาว กว้าง ยาว สรุปผลการทดลอง จำนวนครั้งที่วัด ครั้งที่ 2 (cm) - ค่าเฉลี่ย พื้นที่เฉลี่ย ครั้งที่ 3 | (cm) กว้าง X ยาว (cm) (m³)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่ะไม่เข้าใจ

A ร กิจกรรม ผลของอุณหภูมิ ตสภาพละสายไม้ของสาร จุดประสงค์ - เพื่อทดสอบผลการละลายของสารที่อุณหภูมิต่าง ๆ วัสดุอุปกรณ์ 1. บีกเกอร์ขนาด 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร จำนวน 3 ใบ 2. ตะเกียงแอลกอฮอล์พร้อมที่กันลม 3. สารเคมีต่าง ๆ ได้แก่ น้ำกลั่น เอทิลแอลกอฮอล์ เกลือ น้ำตาลทราย และคอปเปอร์ (II) ซัลเฟต ปฏิบั 4. กระบอกตวง 5. แท่งแก้วคนสาร 6. น้ำแข็ง - - การจาแนกประ - การกำหนดและควบคุมตัวแบ - การลดความเห็นจากข้อมูล จิตวิทยาศาสตร์ - ความสนใจ ความมีเหตุผล ช้าสวร 1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-7 คน ออกแบบการทดลองเกี่ยวกับผลของอุณหภูมิต่อสภาพละลายได้ของสาร โดยใช้วัส อุปกรณ์ และสารเคมีที่กำหนดให้ โดยแผนการทดลองมีองค์ประกอบ ดังนี้ - ปัญหา - สมมติฐาน - ตัวแปรต้นและตัวแปรตาม - สารเคมีและอุปกรณ์ที่ใช้ - วิธีการทดลอง - ตารางบันทึกผล 2. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอแผนการทดลองที่ร่วมกันออกแบบไว้ แล้วร่วมกันอภิปรายเพื่อตรวจสอบความถูกต้อ แผนการทดลอง และปรับปรุงแผนการทดลองให้ถูกต้องเหมาะสม 3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทำการทดลองตามที่ออกแบบไว้ 4. ให้นักเรียนและกลุ่มนำเสนอผลการทดลอง คำถามท้ายกิจกรรม 1. นักเรียนเลือกสารใดเป็นตัวทำละลายและตัวละลาย เพราะเหตุใด - เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้นหรือลดลง การละลายของตัวละลายในตัวทำละลายเหมือนหรือแตกต่างกัน อย่างไร อุณหภูมิมีผลต่อสภาพละลายได้ของสารหรือไม่ อย่างไร อภิปรายผลกิจกรรม จากกิจกรรม พบว่า อุณหภูมิมีผลต่อสภาพละลายได้ของสาร ซึ่งเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น ตัวละลายจะละลายในตัวท ขึ้น แต่เมื่ออุณหภูมิลดลง ตัวละลายจะละลายในตัวทำละลายได้น้อยลง

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยได้ไหมคะ🙏🏻🙏🏻🙏🏻

9. คำถามทบทวน ลักษณะทางกายภาพของคลื่น • สันคลื่นและท้องคลื่นอยู่ตำแหน่งใด คำตอบ • คลื่นที่เกิดขึ้นมีแอมพลิจูดและความยาวคลื่นเป็นเท่าใด คำตอบ 10. แอมพลิจูดของคลื่น จะขึ้นอยู่กับพลังงานที่ใช้ในการรบกวนตัวกลาง - ถ้ารบกวนตัวกลางของคลื่นด้วยพลังงานน้อย คลื่นจะมี - และ ถ้ารบกวนตัวกลางของคลื่นด้วยพลังงานมาก คลื่นจะมี 11. เพราะเหตุใดคลื่นสึนามิที่มีแอมพลิจูดสูง จึงสามารถทำความเสียหายให้กับชีวิตและทรัพย์สินริมชายฝั่งทะเลได้มาก คําตอบ 12. ความถี่คลื่น (1) คือ จำนวนรอบที่ตัวกลาง มีหน่วยเป็น - ความถี่น้อย ลูกคลื่นน้อย คลื่นมีความถี่ - ความถี่มาก ลูกคลื่นมาก คลื่นมีความถี่ 13. นักเรียนใช้ดินสอแตะผิวหน้าของน้ำที่จุด A แล้วสังเกตพบว่าเกิดคลื่น . เคลื่อนที่จากจุด A ไป B และพบว่าเม็ดโฟมที่อยู่บน ผิวน้ำเคลื่อนที่ขึ้น ลงในแนวดิ่ง ดังภาพ คำตอบ คลื่นสปริงนี้มีความเป็น หรือ ภาพตัดขวางผิวหน้าของน้ำ โจทย์ถามว่า ถ้าพบว่า ในเวลา 5 วินาที เม็ดโฟมเคลื่อนที่ขึ้นลงครบ 8 รอบพอดี คลื่นดังกล่าวมีความถี่เท่าใด คำตอบ คลื่นน้ำที่มีความเป็น 14. โจทย์ถามว่า ถ้านักเรียนสะบัดสปริงอย่างต่อเนื่องให้เกิดคลื่นตามขวาง เมื่อเวลาผ่านไป 2 วินาที สังเกตคลื่นในสปริงที่เกิดขึ้นได้เป็นดังภาพ คลื่นดังกล่าวมีความถี่เท่าใด เรื่องที่ 2 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 15. ลักษณะคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ความยาวคลื่น ความยาวคลื่น.. ตอบ ในการเคลื่อนที่ ระยะในแนวดิ่ง (cm) - เป็นคลื่นที่.. - จะอาศัยการเหนี่ยวนำ - เคลื่อนที่ในสุญญากาศด้วยอัตราเร็ว ๆ - คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแบ่งออกเป็นช่วงความถี่ต่าง ๆ เรียกว่า 16. แต่ละช่วงความถี่มีชื่อเรียกต่างกัน ได้แก่ 17. การใช้ประโยชน์จากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คือ 18. การเกิดโทษต่อมนุษย์จากการใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คือ 19. คำถามทบทวน คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า - ความถี่ ความยาวคลื่น และพลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีความสัมพันธ์กันอย่างไร ตอบ แต่จะเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว เสียงที่ได้ยินจากเครื่องรับวิทยุเป็นคลื่นกลหรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เพราะเหตุใด B ระยะในแนวระดับ (cm) เพื่อส่งผ่านพลังงานที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง ในตัวกลางอื่น CoXXI

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ใครรู้ช่วยบอกที เราได้เเค่ไม่กี่ข้อเองกำหนดส่งวันนี้ด้วย

แบบฝึกหัดสรุปเนื้อหา ในหน่วยการเรียนรู้ คลื่นและแสง เรื่อง แสง ประกอบรายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 1. แสงเป็น 2. แสงเป็น 3. อัตราเร็วของแสง จะมีค่ามากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ 4. อัตราเร็วของแสงในสุญญากาศ คือ 5. วัตถุหรือตัวกลางของแสง คือสิ่งที่ พิจารณาจากความสามารถในการยอมให้แสงเดินทางผ่านได้ 3 ประเภท ได้แก่ 6. แหล่งกำเนิดแสง จำแนกได้ 2 ประเภท คือ 1) ..ได้แก่.. 2). 7. เราจะมองเห็นแหล่งกำเนิดแสงได้ เนื่องจาก และเรายังสามารถมองเห็นสิ่งต่างๆ ที่ไม่ใช่แหล่งกำเนิดแสงได้ เนื่องจาก 8. เซอร์ ไอแซก นิวตัน ได้ทดลองให้ลำแสงอาทิตย์ (ในสมัยนั้นเข้าใจว่า แสงอาทิตย์เป็นแสงสีขาวหรือไม่มีสี) ผ่านเข้าไปในแท่ง แล้วทำให้แสงกระจายออกเป็นสีต่างๆ 7 สี ตามลำดับความ แก้วสามเหลี่ยม (วัตถุโปร่งแสง) ที่เราเรียกว่า ยาวของคลื่นจากน้อยไปมา คือ ไปปรากฏเป็นแถบ 9. การเคลื่อนที่ของแสง แสงเป็นพลังงานที่ ต้องเขียน รังสีของแสง (ray of light) ซึ่งเป็นเส้นตรงแสดง 13 เรียกว่า.. N รังสีของแสงมี 3 ชนิด คือ เรียกว่า.. eifer 10. ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับแสง ได้แก่ 1) .3).. 11. **การสะท้อนของแสง**เป็นคุณสมบัติของแสงอย่างหนึ่ง อธิบายได้ด้วยกฎการสะท้อนของแสง (Law of Reflection) ดังนี้ 1). 2). ได้แก่ 2).. ที่ทราบได้จาก.... 14. จากภาพ มุมสะท้อนคือหมายเลขใด ตอบ. ทราบได้จาก.. แสงเหล่านั้นเข้าสู่ตาเราโดยตรง 12. ภาพแสดงกฎการสะท้อนของแสง กำหนดให้ i แทน.. r แทน N แทน 0i แทน. er แทน ซึ่งเป็น ซึ่งเป็น ซึ่งเป็น 13. รังสีหมายเลข 1 และ 2 คือรังสีอะไร ดังนั้นการศึกษาเรื่องแสง รังสีของแสงจะช่วยบอก เรียกว่า.. ซึ่งเป็น.. ชิงเป็น 14

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยทีค่ะ

1 แบบสอบปรนัยและอัตนัยเพื่อพัฒนาทักษะกระบ หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สารและสมบัติของสาร หน้าคำตอบที่ถูกต้องให้เต็มวง 2 ตอนที่ 1 นักเรียนใช้ดินสอระบายลงใน 1. ข้อใดไม่ใช่สมบัติทางกายภาพของสาร สถาน การนำไฟฟ้า ถ้านักเรียนจำแนกประเภทของสารออกเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้ (2) ความหนาแน่น 4) การติดไฟ กลุ่มที่ 1 กำมะถัน น้ำตาลทราย แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ กลุ่มที่ 2 น้ำโคลน น้ำเกลือ อากาศ เกณฑ์ที่ใช้ในการจำแนกสารออกเป็น 2 กลุ่มดังกล่าวคือข้อใด (1) สถานะ 2 ลักษณะเนื้อสาร ขนาดอนุภาคของสาร 4, จำนวนชนิดของสารองค์ประกอบ เมื่อนำสาร A มาทดลองหาจุดเดือด พบว่าจุดเดือดของสาร A ไม่คงที่ ข้อสรุปใดถูกต้องที่สุด สาร A เป็นสารโลหะ สาร A เป็นสารผสม 3 สาร A เป็นสารบริสุทธิ์ (4) สาร A เป็นสารเนื้อเดียว คะแนนเพิ่ม สารผสมจุดเดือดคงที่ แต่สารบริสุทธิ์จุดเดือดไม่คงที่ สมบัติเกี่ยวกับจุดเดือดของสารผสม (mixtures) และสารบริสุทธิ์ (pure substances) ข้อใด 2) สารผสมจุดเดือดไม่คงที่ แต่สารบริสุทธิ์จุดเดือดคงที่ 3) ทั้งสารผสมและสารบริสุทธิ์มีจุดเดือดไม่คงที่ 4) ทั้งสารผสมและสารบริสุทธิ์มีจุดเดือดคงที่

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/55