ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อย

กิจกรรมที่ 4 - ตอบของปัญหา (สมมติฐาน) น่าจะเป็นอย่างไร การให้ไก่กินหนอนอย่างเดียวใน อาจมีการเติบโตช้า แต่คนที่ให้ก 1. เมื่อนักเรียนนำแมลงสาบใส่ขวดแล้วเอาจุกปิดให้แน่น ต่อมาแมลงสาบตาย นักเรียนจะ ตั้งสมมติฐานได้ว่า อย่างเดียว คนให้นาน ให้ไก่กินข้าวอาจมีการเจริญเต้นโตเร็วกว่า 0.0 42.0 BERET 1.0 29.3 อย่างไร ไม่มีอากาศหาย เนื่องจากนออกให้แม่ 2. นำรากหัวหอมที่เพาะไว้ 6 วัน มาตัดรากบางส่วนออก แล้วนำไปเพาะต่ออีก 5 วัน ได้ข้อมูลดัง ตาราง ความยาวที่ตัด(มม.) ความยาวที่เพิ่มขึ้น(มม.) จากข้อมูลในตารางนี้ จะกำหนดสมมติฐานได้ว่าอย่างไร 3.0 17.2 4.0 9.0 (82) EL CENTRO

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ทํายังไงครับ3กับ4

เกขอ 1 มาวาดเป็นภาพสัตว์ประหลาด 3. กำหนดให้สัตว์ประหลาดที่ได้ในข้อ 2 เป็นพ่อ จากนั้นเลือกจีโนไทป์ของสัตว์ประหลาดที่เป็นพ จำนวน 1 ลักษณะ เช่น เลือกสัตว์ประหลาดที่มีหัวกลมที่อาจมีจีโนไทป์เป็นฮอมอไซกัสหรือเฮเทค เลือกลักษณะของแม่ที่เป็นลักษณะเดียวกับที่เลือกจากพ่อ จากลักษณะที่กำหนดให้เพียง 1 ลักษณะ ดังนี้ ษณะใดก็ได้ ส 4. 1. หัวกลมที่มีจีโนไทป์เป็นฮอมอไซกัส ตา 2 ตา ที่มีจีโนไทป์เป็นเฮเทอโรไซกัส 2. 3. ไม่มีรูจมูก 4. เขา 2 เขา ที่มีจีโนไทป์เป็นฮอมอไซกัส 5. ขา 2 ขา แขน 4 แขน ที่มีจีโนไทป์เป็นเฮเทอโรไซกัส 6. ไม่มีฟัน 7.

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ใส่ยังคะตรงช่องว่างไม่ค่อยเข้าใจ

พลังงานไฟฟ้า พลังงานกล เสียง พลังงานความร้อน พลังงานศักย์โน้มถ่วง พลังงานจลน์ ถ่ายโอน 1. พลังงานความร้อนสามารถ จากวัตถุหนึ่งไปอีกวัตถุหนึ่งได้ 2. งานในการยกลูกตุ้มปั้นจั่นขึ้นในแนวดิ่งทำให้.. 3. เมื่อวัตถุเคลื่อนที่บนพื้นฝืด งานจากแรงเสียดทานทำให้.. เป็น.. .ของลูกตุ้มปื้นจั่นมีค่าเพิ่ขึน 1.ของวัตถุมีค่าลดลง ..ของการหมุนของใบพัดแต่ โหรือ 4. พัดลมเป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ทำหน้าที่เปลี่ยน.... การทำงานของพัดลมอาจมีการสูญเสียพลังงานไปโดยเปลี่ยนเป็น. ...เป็น..

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยนะคะ🙏🏻🙏🏻

1. ให้นักเรียนตอบ ถูก หน้าข้อความที่ถูกต้อง และ ตอบ ผิด หน้าข้อความที่ไม่ถูกต้อง 1. น้ำเลือดจะทำหน้าที่ลำเลียงสารอาหารที่ย่อยแล้วไปยังเซลล์ต่างๆทั่วร่างกาย 2. เซลล์เม็ดเลือดแดงมีขนาดใหญ่กว่าเซลล์เม็ดเลือดขาวแต่มีจำนวนน้อยกว่า 3. เซลล์เม็ดเลือดขาวลำเลียงแก๊สออกซิเจนไปยังส่วนต่างๆของร่างกาย 4. เซลล์เม็ดเลือดแดงของมนุษย์ไม่มีนิวเคลียส 5. เซลล์เม็ดเลือดแดงต่อสู้ทำลายเชื้อโรค 16. เฮโมโกลบิน ทำหน้าที่ลำเลียงแก๊สออกซิเจน พบในเซลล์เม็ดเลือดแดง 17. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และแก๊สออกซิเจนจะถูกลำเลียงโดยละลายในน้ำเลือดแล้วถูก ลำเลียงไปตามหลอดเลือด 8. เกล็ดเลือดมีหน้าที่ป้องกันไม่ให้เลือดแข็งตัว 19. ช่องทางนำอากาศเข้าสู่ร่างกาย มีอยู่ทางเดียว คือ จมูก 10. ระบบทางเดินหายใจแก๊สออกซิเจนจะถูกเปลี่ยนที่ปอด โดยกระบวนการแพร่ 11. การหายใจเข้า กะบังลมจะเคลื่อนที่ต่ำลงปริมาตรช่องอกเพิ่มขึ้น 12. สิ่งที่กำหนดอัตราการหายใจเข้า - ออก คือ ปริมาณแก๊สออกซิเจน 13. หายใจเข้าเต็มที่จะมีอากาศเข้าไปยังปอดเพิ่มมากจนอาจถึง 6,000 cm |14. ปอดได้รับแก๊สออกซิเจนโดยวิธีการแพร่ 15. การแลกเปลี่ยนแก๊สเกิดขึ้น 2 แห่ง คือ ที่หัวใจ และ ปอด 2. ให้นักเรียนเติมคำที่เกี่ยวข้องกับระบบหมุนเวียดเลือดให้ถูกต้อง ระบบหมุนเวียนเลือด ห้องบน เวน เซลล์เม็ดเลือดแดง

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยทำหน่อยค่ะ พี่ๆ น้องๆ เพื่อนๆ คนไหนรู้คำตอบมั้งคะ😊

เรื่อง โครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะในระบบหายใจ เรียงลำดับชื่อส่วนของร่างกาย ในการผ่านของอากาศในการหายใจเข้า รูจมูก โพรงจมูก ห่อลม ถุงลม หลอดลม ๒๕๕ - 4. - กิจกรรม การหายใจเข้าและการหายใจออกเกิดขึ้นได้อย่างไร สังเกตและอธิบายกลไกการหายใจเข้า และการหายใจออกโดยใช้แบบจำลอง การทำงานของปอด สิ่งที่ค้นพบจากกิจกรรม เมื่อดึงแผ่นยางลง ลูกโป่งจะ 1 เนื่องจาก 2. เมื่อดันแผ่นยางลง ลูกโป่งจะ เนื่องจาก ขณะหายใจเข้า ขณะหายใจออก 1. กระบังลมจะ 1. กระบังลมจะ 2. กระดูกซี่โครงจะ 3. ปริมาตรช่องอกจะ 2. กระดูกซี่โครงจะ 3. ปริมาตรช่องอกจะ 4. ความดันในช่องอกจะ 4. ความดันในช่องอกจะ กระบวนการแลกเปลี่ยนแก๊ส 1. การแลกเปลี่ยนแก๊สเกิดที่บริเวณใดของร่างกายบ้าง ตอบ.

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่ะ😩 ขอบคุณล่วงหน้าค่ะ🙏

13. เลือดของคนเราประกอบด้วยอะไรบ้าง (วิเคราะห์หลักการ) ก. น้ำเลือด ฮีโมโกลบิน เกล็ดเลือด ข. น้ำเลือด เม็ดเลือดขาว เม็ดเลือดดำ เกล็ดเลือด ค. น้ำเลือด ฮีโมโกลบิน เม็ดเลือดขาว เม็ดเลือดแดง ง. น้ำเลือด เม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว เกล็ดเลือด 14. การจับชีพจร เป็นการตรวจสอบการทำงานของระบบอวัยวะใด (วิเคราะห์หลักการ) ก. ระบบหัวใจ ข. ระบบขับถ่าย ค. ระบบยอยอาหาร ง. ระบบหมุนเวียนโลหิต 15. ขณะหายใจเข้ามีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นตามข้อใด คร ก. ปริมาตรของช่องอกมีมากขึ้น ข. ปริมาตรของช่องอกน้อยลง ค. ปริมาตรของช่องอกนอยลง ความ วามดันอากาศต่ำลง ง. 16. ในขณะที่หายใจเข้า รงและกะบังลมจะทำงานอย่างไร (วิเคราะห์หลักการ) อกหดตัว กล้ามเนื้อแถบใน คลายตัว กระบังลมหดตัว ข. กล้ามเนื้อแถบนอกหดตัว กล้ามเนื้อแถบใน คลายตัว กระบังลมคลายตัว ก. กล ค. กล้ามเนื้อแถบนอกคลายตัว กล้ามเนื้อแถบใน หดตัว กระบังลมคลายตัว ง. กล้ามเนื้อแถบนอกคลายตัว กล้ามเนื้อแถบใน หดตัว กระบังลมหดตัว 17. การหายใจถูกควบคุมโดยอวัยวะใด (วิเคราะห์หลักการ) ก. จมูก ข. หลอดลม ค. ปอด ง. กระบังลม 18. ข้อใดจัดเป็นของเสียที่ร่างกายจำเป็นต้องกำจัดทิ้ง (วิเคราะห์ความสำคัญ) ก. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ข. ยูเรีย ค. เกลือแรส่วนเกิน ง. ถูกต้องทุกข้อ

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ข้อ 3-4-5 ทำยังไงหรอคะพี่ๆ 😭😭😭😭

หน่วยที่ 2 พันธุศาสตร์ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ราง แอลลีลเด่นและแอลลีลต้อยของลักษณะต่าง ๆ ของสัตว์ประหลาด ลักษณะที่ควบคุมโดยแอลลีลเด่น/สัญลักษณ์ ลักษณะที่ควบคุมโดยแอลลีลด้อย/สัญลักษณ์ ลักษณะ หัวสี่เหลี่ยม/o หัวกลม/A รูปร่างของหัว 1 ตา/b จำนวนตา 2 ตา/B ไม่มีรูจมูก/c การมีรูจมูก มีรูจมูก/C ไม่มีเขา/d จำนวนเขา 2 เขา/D 2 ขา/e จำนวนขา 3 ขา/E 2 แขน/f จำนวนแขน 4 แขน/F การมีฟัน มีฟัน/G ไม่มีฟัน/g 2. นำฟิโนไทป์ของลักษณะทั้งหมดที่ได้จากข้อ 1 มาวาดเป็นภาพสัตว์ประหลาด 3. กำหนดให้สัตว์ประหลาดที่ได้ในข้อ 2 เป็นพ่อ จากนั้นเลือกจีโนไทป์ของสัตว์ประหลาดที่เป็นพ่อลักษณะใดก็ได้ จำนวน 1 ลักษณะ เช่น เลือกสัตว์ประหลาดที่มีหัวกลมที่อาจมีจีโนไทป์เป็นฮอมอไซกัสหรือเฮเทอโรไซกัส เลือกลักษณะของแม่ที่เป็นลักษณะเดียวกับที่เลือกจากพ่อ จากลักษณะที่กำหนดให้เพียง 1 ลักษณะ ดังนี้ 1. หัวกลมที่มีจีโนไทป์เป็นฮอมอไซกัส 2. ตา 2 ตา ที่มีจีโนไทป์เป็นเฮเทอโรไซกัส 3. ไม่มีรูจมูก 4. เขา 2 เขา ที่มีจีโนไทป์เป็นฮอมอไซกัส 5. ขา 2 ขา 6. แขน 4 แขน ที่มีจีโนไทป์เป็นเฮเทอโรไซกัส 7. ไม่มีฟัน เขียนจีโนไทป์ของแม่จากลักษณะที่เลือกไว้ 5. นำพ่อมาผสมพันธุ์กับแม่ แล้วเขียนแผนภาพเพื่อหาอัตราส่วนของจีโนไทป์และฟีโนไทป์ของลักษณะดังกล่าวใน ลูกที่เกิดขึ้น

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยนะคะ🥺💕 #ขอบคุณล่วงหน้าค่ะ.

ีโนไทป์และโนไทป์ของสัตว์ประหลาดเป็นอย่างไร ามขั้นตอน ดังนี้ คำชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาการทศลองของเมนเดล และตามข้น สถานการณ์ สัตว์ประหลาดมิลักษณะภายนอกที่แตกต่างกัน 7 ลักษณะ แต่ละลักษณะถูกควบคุมด้วยอินที่มี 2 แอะสิฐ และแอลสิลเด่นสามารถข่มแอลสิลค้อยอย่างสมบูรณ์ วัสดุและอุปกรณ์ เหรียญบาท 2 เหรียญ วิธีทำการทดลอง 1. โยนเหรียญบาท 2 เหรียญพร้อมกันเพื่อหาลักษณะของสัตว์ประหลาด โดยกำหนดให้ด้านหัวของ เหรียญแทนแอะสิยูเด่น และค้านก้อยแทนแอลสิลค้อย โดยใช้สัญลักษณ์ตัวอักษรภาษาอังกฤษที่ให้ไว้ใน ตารางแทนแอลลีลเด่นและแอลสีลด้วย แล้วบันทึกผล กำหนดตารางแอลสีลเด่นและแอลสีลต้อยของลักษณะต่างๆ ของสัตว์ประหลาด ลักษณะที่ควบคุมโดยแอลสีลตอย สัญลักษณ์ หัวสี่เหลี่ยม 2 ลักษณะที่ควบคุมโดยแอลสีลเด่น สัญลักษณ์ ลักษณะ รูปร่างของหัว หัวกลม A จำนวนตา การมีรูจมูก มีรูจมูก.c ไม่มีรูจมูกe จำนวนเขา 2 เขาD ไม่มีเขป d จำนวนขา 2 ขาะ จำนวนแขน 4 แขนr 2 แขนf การมีฟัน มีฟัน G ไม่มีพัน 5 2. นำฟิโนไทป์ของลักษณะทั้งหมดที่ได้จากข้อ : มาวาคเป็นภาพสัตว์ประหลาดและระบายสีให้ สวยงาม ลักษณะ ลักษณะที่ควบคุมโดยแอลสสีสเด่นและต้อย สัญลักษณ์ รูปร่างของหัว จำนวนตา การมีรูจมูก จำนวนเขา จำนวนขา จำนวนแขน การมีฟัน

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
วิทยาศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยเค้าหน่อยนะคะ.🥺✨ #ขอบคุณล่วงหน้าค่ะ.🙏🏼💖🧘🏻

3. คำหนดให้สัตว์ประหลาดที่ได้ในข้อ 2 เป็นพ่อ 4. เลือกลักษณะของแม่ที่มีลักษณะเดียวกับที่เลือกจากพ่อ จากลักษณะที่กำหนดให้เฟียง 1 ลักษณะ ดังนี้ (โดยเทียบกับตารางที่คำหนดให้) 1. หัวกลมที่มีจิโนไทป์เป็นขอมอไซกูส 2. ไม่มีรูจมูก 5. ตา 2 ตา ที่มีจิโนไทป์เป็นเอเทอโรไซกัส 6. เขา 2 เขา ที่มีจิโนไทป์เป็นฮอมอไซกูส 7. แขน 4 แขน ที่มีจิโนไทบป์เป็นเอเทอโรไซกัส 3. ขา 2 ขา 4. ไม่มีฟัน 5. นำพ่อมาผสมกับแม่ แล้วเขียนแผนภาพเพื่อหาอัตราส่วนของจิโนไทป์และโนไทป์ของลักขณะ ดังกล่าวในลูกที่เกิดขึ้น พ่อ แม่ จีโนไทป์ ปโนไทป์ จิโนไทย์ ูโนไทป์ จีโนไทป์ รโนไขป์

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
1/3