ชั้นปี

วิชา

ชนิดของคำถาม

ประวัติศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยตอบหน่อยค่ะ

จุดประกายความคิด กิจกรรมที่ ใน 100 ร้างหน้า จะมีหลักฐานใดที่จะแสดงถึง เรื่องราวของนักเรียน ในยุคปัจจุบัน 1.1 จากบทความ การใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์วิเคราะห์เหตุการณ์ ประเมินผลตัวชี้วัด ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวต่าง ๆ ที่ตนสนใจ (ส 4.1 ม.3/2) 1. ให้นักเรียนวิเคราะห์บทความแล้วตอบคำถาม (คะแนนเต็ม 5 คะแนน) ชนเผ่าไทกลุ่มต่าง ๆ ตั้งถิ่นฐานกระจายอยู่ทั่วไปในบริเวณที่กว้างขวางคาบเกี่ยวกับดินแดน หลายประเทศ มีภาษา ขนบธรรมเนียม วัฒนธรรมและประเพณีคล้ายคลึงกับคนไทยที่อาศัยอยู่ใน ประเทศไทยปัจจุบัน เป็นชนกลุ่มน้อยในประเทศต่าง ๆ เช่น ไทลื้อในดินแดนสิบสองปันนาทางตอน ใต้ของประเทศจีน พวกผู้ไทและไทดำในเวียดนาม พวกไทใหญ่ในรัฐฉานของพม่าและไทอาหม ในรัฐอัสสัมของอินเดีย กลุ่มไทเหล่านี้ส่วนใหญ่ยังคงรักษาวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมและประเพณี ดั้งเดิมอยู่ ดินแดนที่ชนเผ่าไทตั้งถิ่นฐานอยู่ได้มีนักประวัติศาสตร์หรือนักวิชาการนำเสนอว่าน่าจะ เป็นถิ่นกำเนิดของชนชาติไทย (1 คะแนน) ทางประวัติศาสตร์ นักเรียนจะตั้งประเด็น คำถามเกี่ยวกับบทความนี้อย่างไร 1.2 จากบทความมีสิ่งใดที่จะใช้เป็น หลักฐานทางประวัติศาสตร์ (2 คะแนน) วิธีการทางประวัติศาสตร์กับการศึกษาเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ประวัติศาสตร์ มัธยมต้น

งงค่ะหาเท่าไหร่ก็ไม่เจอ ขอด่วนๆเลยนะคะ ส่งวันพน.(25/05/65) หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ม.2

SUTASOL Pre-Test แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre - Test) ได้ คะแนน ชอ นามสกุล เลขที่ ชั้น คะแนนเต็ม 10 คะแนน ให้ระบายคำตอบที่ถูกต้องลงในวงกลมตัวเลือกให้เต็มวง (ห้ามระบายนอกวง) 1. ข้อใดเป็นวิธีการประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์แบบการประเมินภายนอก (1) การวิเคราะห์เนื้อหาที่บันทึก 2) ข้อมูลที่บันทึกว่าเป็นกลางหรือไม่ 3) การนำเสนอข้อมูลมีการบิดเบือนหรือไม่ (4) ความน่าเชื่อถือของบุคคลผู้บันทึกเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ 2. หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในข้อใดเป็นหลักฐานขั้นปฐมภูมิทั้งหมด 1 พงศาวดาร ศิลาจารึก (2) จดหมายเหตุ อัตชีวประวัติ 3) โบราณวัตถุ ตำราประวัติศาสตร์ (4) โบราณคดี วรรณคดี 3. หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในข้อใดไม่ใช่หลักฐานขั้นทุติยภูมิ วารสาร 2) กฎหมายตราสามดวง 3) หนังสือพิมพ์ (4) ภาษาศาสตร์ 4. ลักษณะของนักประวัติศาสตร์ที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร (1) มีการทดลองศึกษาเพียงครั้งเดียว (2) มีความละเอียดถี่ถ้วน ช่างสังเกต (3) ใช้สำนวนการบันทึกแบบโวหาร (4) ผลสรุปที่ได้จากการค้นคว้าถือว่าเป็นความจริงที่ใครโต้แย้งไม่ได้ 5. ข้อใดเป็นวิธีการประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์แบบการประเมินภายใน (1) ประสบการณ์ของผู้เขียน (2) ประวัติและผลงานของผู้บันทึก (3) ความถูกต้องของข้อมูลที่มีหลักฐานอ้างอิงชัดเจน 4) ความเป็นนักประวัติศาสตร์ที่มีขั้นตอนการบันทึกข้อมูลที่เป็นกลาง nomin

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ประวัติศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยหน่อยค่ะ ขอบคุณล่วงหน้าค่ะ🤍✨

คำชี้แจง ให้นักเรียนอ่านข้อความเกี่ยวกับช่างสิบหมู่แล้วเดิมคำลงในช่องว่าง งานของช่างสิบหมู่ หรืองานช่างในกรมช่างสิบหมู่เดิม สำดับตามความสำคัญของหมู่ช่าง ในทำเนียบที่เป็นมาแต่อดีต มีช่างต่างๆ จัดลำดับขึ้นไว้ดังนี้ ๒. ช่างปั้น ๗. ช่างหุ่น ๑. ช่างเขียน ๓. ช่างแกะ ๔. ช่างสลัก ๕. ช่างหล่อ 5. ช่างกลึง ๔. ช่างรัก ๔. ช่างบุ ๑๐. ช่างปูน 1. ในอดีต ช่างสิบหมู่มีหน้าที่สำคัญอย่างไร 2 นักเรียนจะมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาไทยช่างสิบหมู่อย่างไร

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
ประวัติศาสตร์ มัธยมต้น

ข้อ7,8,9,10 ตอบอะไรค่ะ

ด ณ เ V B N M < > ป 8 อ ? ท ณ ม ฬ ใ ๆ ฝ คLT FN 2 การขับไล่อิทธิพลของฝรั่งเศสออกไปจากกรุงศรีอยุธยาของพระเพทราชาส่งผลต่อชาติไทยอย่างไร 1. ทำให้ฮอลันดากลับมามีอิทธิพลดังเดิม 2. ได้ผลประโยชน์ทางการค้ากลับคืนมาให้ไทย 3. ป้องกันไม่ให้อยุธยาตกอยู่ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศส 4. เสริมกำลังความเข้มแข็งให้กองทัพอยุธยามีแสนยานุภาพมากขึ้น 5. ข้อใดคือลักษณะสำคัญของกรุงธนบุรี พื้นที่กว้างขวางเพียงพอต่อการสร้างพระราชวัง 1 2. มีความอุดมสมบูรณ์ สามารถเก็บเสบียงไว้เลี้ยงไพร่พลได้ 3. มีกลุ่มคนไทยที่จงรักภักดีพร้อมจะเป็นกำลังพลให้พระยาตาก 4. เป็นเมืองป้อมปราการขนาดย่อมพอที่กำลังพลจะรักษาเมืองไว้ได้ 9. ผลงานใดที่ทำให้เจ้าพระยาจักรี (ทองด้วง) ได้รับการเลื่อนยศขึ้นเป็นสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก 1. การถืออาญาสิทธิ์เป็นแม่ทัพใหญ่ไปตีเมืองเขมร 2. การยกทัพไปปราบเมืองนางรองและนครจำปาศักดิ์ 3. การปราบเหตุการณ์จลาจลที่เกิดขึ้นภายในกรุงธนบุรี 4. การอัญเชิญพระแก้วมรกตและพระบางจากลาวกลับมากรุงธนบุรี 10. ขุนนางคนสำคัญในข้อใดที่เป็นประดุจดั่งพระกรช้างซ้ายของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช 2. เจ้าพระยาสุรสีห์ (บุญมา) 4. สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก (ทองด้วง) 1. พระยาพิชัย (จ้อย) 3. เจ้าพระยานครราชสีมา (ปิ่น)

รอคำตอบ จำนวนคำตอบ: 0
ประวัติศาสตร์ มัธยมต้น

ช่วยทีคะ🙏🏻

แบบทดสอบประจำหน่วยการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.3 หน่วยที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ จำนวน 10 ข้อ คำสั่ง : ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องเพียงคำตอบเดียว 6) "เมื่อ พ.ศ. 2475 เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้น" สมชาย ค้นหาข้อมูลจากหนังสือที่ห้องสมุดและอินเทอร์เน็ต เพื่อตอบคำถามดังกล่าว การกระทำของสมชายอยู่ ในขั้นตอนใดของวิธีการทางประวัติศาสตร์ 1) นักประวัติศาสตร์ใช้เกณฑ์อะไรแบ่งยุคสมัยทางประ วัติศาสตร์ออกเป็นสมัยก่อนประวัติศาสตร์ และสมัย ประวัติศาสตร์ ก. การตั้งถิ่นฐาน ข. เครื่องมือเครื่องใช้ ก. การกำหนดปัญหา ข. การตีความหลักฐาน ค. การรวบรวมหลักฐาน ค. ตำนานหรือคำบอกเล่า ง. หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร 2) ข้อใดต่อไปนี้เป็นหลักฐานชั้นต้น ง. การเรียบเรียงและนำเสนอ ก. หนังสือเรียน 7) "วัฒนธรรม มีความสำคัญอย่างไร" อยู่ในขั้นตอน ข. วิทยานิพนธ์ ใดของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ค. หนังสือพิมพ์รายวัน 1. การกำหนดปัญหา ง. อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 3) หลักฐานข้อใดต่างจากพวก ข. การตีความหลักฐาน ค. การรวบรวมหลักฐาน ก. จารึา ง. การเรียบเรียงและนำเสนอ 8) เมื่อมีการตรวจสอบ และประเมินคุณค่าของหลัก ฐานแล้ว ขั้นตอนต่อไปจะทำอย่างไร 1. จตหมายเหตุ ค. จิตรกรรมมฝาผนัง ง. พระราชพงศาวดาร ก. กำหนดปัญหา ข. ตีความหลักฐาน ค. รวบรวมหลักฐาน 4) งานเขียนทางประวัติศาสตร์ที่บันทึกเรื่องราวเกี่ยว กับพระมหากษัตริย์ จัดเป็นหลักฐานประเภทใด ก. ตำนาน ง. เรียบเรียงและนำเสนอ จดหมายเหตุ 9) ข้อใดเป็นวิธีการทางประวัติศาสตร์ที่แตกต่างจากวิธี 1. ค. จดหมายส่วนตัว การทางวิทยาศาสตร์ ก. การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา ข. การตีความเพื่อตอบปัญหา ค. การค้นหาและรวบรวมหลักฐานต่าง ๆ ตรวจสอบ วิเคราะห์ และประมินคุณค่าของ ง. พระราชพงศาวดาร 5) กฎหมายที่รัชกาลที่ 1 โปรดเกล้าฯ ให้ชำระขึ้น เรียกว่าอะไร ก. กฎหมายตาญา ง. 1. กฎหมายรัฐธรรมนูญ "หลักฐาน ค. กฎหมายตราสามดวง ง. กฎหมายพระมนูธรรมศาสตร์

ยังไม่เคลียร์ จำนวนคำตอบ: 1
ประวัติศาสตร์ มัธยมต้น

ข่วยอธิบายหน่อยค่ะ ขอบคุณนะค่ะ💞🤲

4G 3ย 11:08 น. ล Iปี" เE2 KB/5 Vol 1 0.00 81% ใบงานที่1เรื่องวิ.. วิธีการทางประวัติศาสตร์ คำชี้แจง: ให้นักเรียนอธิบาย "วิธีการทางประวัติศาสตร์" ตามความเข้าใจของนักเรียน ประวัติศาสตร์คืออะไรและศึกษาได้อย่างไร จุดมุ่งหมายของการวิเคราะห์เรื่องราว เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ การวิเคราะห์และสังเคราะห์เรื่องราว เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์เป็นขั้นตอนที่ ของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ซึ่งวิธีการทางประวัติศาสร์มีทั้งหมด ชั้นตอน คำสั่ง: ให้นักเรียนโยงเส้นเรียงลำดับ 5 ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ให้ถูกต้อง ะ 5 ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ขั้นตอนที่ การตั้งประเด็นที่จะศึกษา ขั้นตอนที่ การเรียบเรียงรายงานข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ 2 ขั้นตอนที่ สืบค้นและรวบรวมข้อมูล 3 ขั้นตอนที่ การวิเคราะห์และตีความข้อมูลทางประวัติศาสตร์ 4 ขั้นตอนที่ การคัดเลือกและประเมินข้อมูล 5

เคลียร์แล้ว จำนวนคำตอบ: 1
1/3